Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69548
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prof. Pasuk Mahakkanukrauh, M.D. | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Karnda Mekjaidee, M.D. | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Sukon Prasitwattanaseree | - |
dc.contributor.author | Pongpon Traithepchanapai | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T03:02:33Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T03:02:33Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69548 | - |
dc.description.abstract | Skeletal remains examinations require a specific-population data research in each population group in order to obtain biological profiles of the deceased. Since the differences between ethnic groups, dietary, daily routines, and genetics can affect the morphological appearances of the skeletal remains. The main objectives that the forensic practitioners have to discover after examinations are ancestry, sex, age, stature, postmortem interval, injuries, or pathology that may lead to the presumption of the cause and manner of death. At the crime scene, sometimes important bones which can identify biological profiles such as a skull, a pelvic bone, and limb bones may not be completely discovered, Therefore, the authors of this study are interested in researching the creation of biological data such as age, sex and stature from the clavicle, since they are bones that can be commonly discovered at the crime scene. Moreover, this bone can be conveniently removed for examination in case that the remains still has some soft tissues attached or could be useful in the decomposed body which is not yet able to identify, which will make it more useful for the forensic practitioners to examine unidentified corpses. This study is an observation on the degenerative morphological changes of the sternoclavicular joints and attempt to classify these changes into age groups. Moreover, clavicles are measured to establish sex and stature estimation equations. After that, radiographs are taken and cortical thicknesses are measured by applying Radiant Dicom Viewer program and using the data obtained to create sex, stature and age estimation equations.The observations of 128 pairs of clavicles (104 Male, 24 female) yielded results as followed : the youngest age that fused epiphysis can be seen is 24 years old in male and 26 years old in female samples. The clavicles of adults aged 30 to 39 years old usually have regular rim and surface of the sternal end. The clavicles of adults aged 40 to 49 years old usually have slight irregular rim and surface of the sternal end. The clavicles of old adults, aged more than 50 years old group usually have obvious irregular rim, surface of the sternal end and sometimes osteophytes at 1st rib articulation surface can be observed. Measurements in 137 pairs of clavicles (112 Male, 25 female) yielded results as followed : sex estimation equation shows a combination between maximum length and robustness index yields best results with 93.4% correctly classified. Moreover, the univariate discriminant analysis indicates that maximum length yields best results for sex discrimination with 89.8% correctly classified. Whereas, in regression analysis which applied 3 variables as followed : maximum length, anterior-posterior diameter at medial 1/3 of clavicle, and height of sternal end of clavicle can yield R2 = 0.490 with the standard error of estimation at 5.238 centimeters for stature estimations in unknown sex individuals, univariate regression analysis from maximum length have R2 = 0.312 with the standard error of estimation at 6.035 centimeters. Height of sternal end clavicle can also estimate stature in cases which fragmented clavicles are recovered in crime scenes which yields R2 = 0.238 with the standard error of estimation of 6.353 centimeters.Measurements from radiographs of 99 pairs of clavicles (112 Male, 25 female) yield results as followed : sex estimation can be derived from applying maximum length into discriminant analysis which indicates best results for sex discrimination with 88.9% correctly classified. Stature estimation from radiographs can be derived from maximum length of clavicles which yields R2 = 0.363 and standard error of estimation of 5.562 centimeters. Regarding to an age estimation from radiological image analysis, applying posterior index at mid-diaphysis of clavicle into age estimation equation yields R2 = 0.081 and standard error of estimation 11.582 years. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Age, Sex, and Stature Estimations from Clavicles by Morphology, Osteometry and Radiological Image Analysis in a Thai Population | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินอายุ เพศ และส่วนสูงจากกระดูกไหปลาร้าโดยใช้ลักษณะทาง สัณฐานวิทยา การวัดกระดูก และการวิเคราะห์ภาพถ่ายรังสีในประชากรไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การตรวจชันสูตรศพโครงกระดูกจำเป็นต้องใช้งานวิจัยที่จำเพาะเจาะจงในแต่ละกลุ่มประชากร เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลทางชีวภาพของผู้ตาย เนื่องจากความแตกต่างระหว่างเชื้อชาติ อาหาร กิจวัตรประจำวัน หรือแม้แต่พันธุกรรมย่อมมีผลต่อความแตกต่างของลักษณะที่ปรากฏบนโครงกระดูกประเด็นหลักที่ ผู้ชันสูตรสนใจคือผู้ตายเป็นกลุ่มคนเชื้อชาติใด เพศ อายุ ส่วนสูง ระยะเวลาการตาย การบาดเจ็บหรือ พยาธิสภาพที่อาจนำไปสู่การสันนิษฐานสาเหตุการตายและพฤติการณ์การตายได้ ในสถานที่เกิดเหตุบางครั้งอาจไม่พบกระดูกชิ้นซึ่งสามารถระบุข้อมูลทางชีวภาพได้ดี เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกอุ้งเชิงกราน หรือกระดูกรยางค์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะค้นคว้าทำงาน วิจัยเกี่ยวกับการสร้างข้อมูลทางชีวภาพได้แก่ อายุ เพศ และส่วนสูงจากกระดูกไหปลาร้าเนื่องจากเป็น กระดูกซึ่งสามารถพบได้ในสถานที่เกิดเหตุ และสามารถนำออกมาตรวจได้ง่ายในกรณีที่ร่างศพยังมี เนื้อเยื่อหลงเหลืออยู่บางส่วน หรือในศพเน่าที่ยังไม่สามารถระบุบุคคลได้ซึ่งจะทำให้มีประโยชน์ต่อ การปฏิบัติงานของแพทย์นิติเวชในการระบุตัวบุคคลศพไม่ทราบชื่อได้มากขึ้น การศึกษานี้เป็นการวิจัยเรื่องลักษณะความเสื่อมของข้อต่อกระดูกไหปลาร้าและสภาพการ เปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงอายุ วัดกระดูกไหปลาร้าเพื่อสร้างสมการจำแนกเพศและทำนายส่วนสูง หลังจากนั้นถ่ายภาพถ่ายรังสีและวัดความหนาบริเวณขอบนอกกระดูกโดยใช้โปรแกรม Radiant Dicom Viewer และนำข้อมูลที่ได้มาสร้างสมการจำแนกเพศทำนายอายุและส่วนสูง ผลการสังเกตกลุ่มตัวอย่างกระดูกไหปลาร้า 128 คู่ แบ่งเป็นชาย 104 คู่ หญิง 24 คู่ พบว่า สามารถ พบการปิดของปลายกระดูกไหปลาร้าได้เร็วสุดที่อายุ 24 ปี ในเพศชายและ 26 ปี ในเพศหญิง หลังจาก ปลายกระดูกปิดแล้วในกลุ่มอายุวัยผู้ใหญ่ช่วง 30 ถึง 40 ปี จะไม่ค่อยพบลักษณะกระดูกงอกหรือลักษณะขรุขระบริเวณผิวหน้าตัด กลุ่มอายุวัยผู้ใหญ่ช่วง 40 ถึง 50 ปี จะเริ่มพบลักษณะกระดูกงอกหรือลักษณะ ขรุขระบริเวณผิวหน้าตัดได้บ้างเล็กน้อย ในขณะที่กลุ่มอายุมากกว่า 50 ปี จะพบลักษณะกระดูกงอก และความขรุขระของหน้าตัดได้อย่างชัดเจน ร่วมกับสามารถพบกระดูกงอกบริเวณข้อต่อกระดูกซี่โครง ที่ 1 ได้ ผลการศึกษาการวัดกลุ่มตัวอย่างกระดูกไหปลาร้า 137 คู่ แบ่งเป็นชาย 112 คู่ หญิง 25 คู่ พบว่า การแทนค่าตัวแปร Maximum length และ Robustness index ร่วมกันในสมการจำแนกเพศสามารถให้ ความถูกต้องได้ 93.4 % และการแทนค่าตัวแปร Maximum length ในสมการจำแนกเพศสามารถให้ ความถูกต้องได้ 89.8% ในขณะที่การแทนค่าตัวแปร Maximum length, Anterior-posterior diameter at medial 1/3 of clavicle, และ Height of sternal end of clavicle ร่วมกันในสมการทำนายส่วนสูงสำหรับ ศพที่ไม่ระบุเพศสามารถให้ค่าสัมประสิทธิ์การกำหนด 0.490 และค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด 5.238 เซนติเมตร และการแทนค่าตัวแปร Maximum length ในสมการในสมการทำนายส่วนสูงสามารถ ให้ค่าสัมประสิทธิ์การกำหนด 0.312 และค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด 6.035 เซนติเมตรและการแทน ค่าตัวแปร Height of sternal end of clavicleในสมการในสมการทำนายส่วนสูงสามารถให้ค่าสัมประสิทธิ์ การกำหนด 0.238 และค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด 6.353 เซนติเมตรซึ่งตัวแปรนี้จะมีประโยชน์ ในทางปฏิบัติงานในกรณีที่กระดูกมีความเสียหายไม่สามารถวัดความยาวแต่ยังสามารถวัดบริเวณข้อ ต่อดังกล่าวได้อยู่ ผลการศึกษาการวัดในภาพถ่ายรังสีจากกลุ่มตัวอย่างกระดูกไหปลาร้า 99 คู่ แบ่งเป็นชาย 82 คู่ หญิง 17 คู่พบว่าการแทนค่าตัวแปร Maximum length ในสมการจำแนกเพศสามารถให้ความถูกต้องได้ 90.9% และการแทนค่าตัวแปรดังกล่าวในสมการทำนายส่วนสูงสามารถให้ค่าสัมประสิทธิ์การกำหนด 0.363 และค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด 5.562 เซนติเมตร และการแทนค่าตัวแปร Posterior index at mid-diaphysis of clavicle ในสมการในสมการทำนายอายุสามารถให้ค่าสัมประสิทธิ์การกำหนด 0.081 และค่าความคลาดเคลื่อนในการวัด 11.582 ปี | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580751005 ปองพล ไตรเทพชนะภัย.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.