Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69541
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำผึ้ง อินทะเนตร-
dc.contributor.authorพิมผกา อ้อมอารีen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:01:57Z-
dc.date.available2020-08-14T03:01:57Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69541-
dc.description.abstractThe purpose of this research is 1) to verify the structural validity of the lifelong learning measurement model of undergraduates’ 2) to verify the cross-validation of the lifelong learning measurement model of undergraduates’ and 3) to arrange group and study of undergraduate’ relationships, distinguished characteristics by gender year and field of study from 1,148 samples, the samples were examined in Multi-Stage Sampling by Lifelong Learning Students’ Behavior Questionnaire. The result of content validation by Item - Objective Congruence (IOC) score 0.80 - 1.00, the discrimination levels by Item Total Correlation (rxy) of 0.367- 0.734 and reliability coefficients by Cronbach's Alpha (α) at 0.963. The data is analyzed by Descriptive Statistics, Confirmatory Factor Analysis (2ndCFA) and Latent Profile Analysis (LPA). The Study findings summarized as following: 1) The structural model of Lifelong Learning of undergraduate students fitted well with the empirical data by 2 = 95.992, df = 94, CFI =1.000, TLI = 0.999, RMSEA = 0.006, SRMR = 0.023 แ ล ะ p-value = 0.423.The undergraduates’ lifelong learning assessment consequently consist of 3 elements 17 indicators: the most influential factor is respectively to think, to manage and to develop and to communicate and to access information.2. The result of cross validation test found that the construct validity model generates a good fit with following results: 2 = 97.199, df = 94, CFI = 0.999, TLI = 0.999, RMSEA = 0.008, SRMR = 0.022 and p-value = 0.390. Consequence accordingly, it indicates that the measurement model has a representative with the approximate weighted value factor of standard score as Δ 2 = 1.207, Δ df = 0 3. The students’ results classification, according to the undergraduates’ lifelong learning characteristics, it’s shown that there are essentially 3 student groups. Group 1, 187 students ( 3 2 .6 3 %) need to be accelerated for lifelong learning. Group 2, the student group that lead to lifelong learning, consisting of 70 students (12.22%) and Group 3, composing of 316 students (55.15%) who are eager for lifelong learning. the consequence of groups category, it appears as Likelihood = -6,679.845, Entropy (Ek) = 0.903, AIC = 13,499.69, BIC = 13,804.252 and ABIC = 13,582.032. To summarize, the undergraduates’ lifelong learning, classified by gender, year, and field of study, found that the gender and year of the students do not correlate with the differences of lifelong learning groups. On the contrary, the field of study group is affiliated with the differences of lifelong learning groups with statistical significance at the level of 0.01en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์กลุ่มแฝงเพื่อศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeApplication of Latent Class Analysis to Study Characteristics of Undergraduates’ Lifelong Learningen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลวัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) เพื่อตรวจสอบความตรงข้ามกลุ่มของโมเดลวัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี และ3) เพื่อจําแนกกลุ่มนักศึกษาและศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลการจัดกลุ่มนักศึกษาตามลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่แตกต่างกันตามเพศ ชั้นปี และกลุ่ม สาขาวิชา โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 1,148 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาปริญญาตรี เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จํานวน 64 ข้อ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 มีค่าอํานาจจําแนก (1) อยู่ระหว่าง 0.367-0.734 และมีค่าความเชื่อมั่น(C) เท่ากับ 0.963 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง และการ วิเคราะห์โปรไฟล์แฝง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. โมเดลการวัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมีความตรงเชิงโครงสร้าง ในระดับดี โดยมีค่า x = 95.992, df = 94, CFI = 1.000, TLI = 0.999, RMSEA = 0.006, SRMR = 0.023 และ p-value = 0.423 ดังนั้น การวัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีประกอบ 3 องค์ประกอบ 17 ตัวบ่งชี้ โดยองค์ประกอบที่มีค่าน้ําหนักองค์ประกอบมากที่สุด คือ ด้านทักษะการ คิด รองลงมา คือ ด้านการจัดการและพัฒนาตนเอง ด้านการสื่อสารและการเข้าถึงข้อมูล ตามลําดับ 2. ผลการตรวจสอบความตรงข้ามกลุ่ม พบว่า โมเดลมีความตรงเชิงโครงสร้างข้ามกลุ่มใน ระดับดี โดยมีค่า ?? =97.199, df = 94, CFI = 0.999, TLI= 0.999, RMSEA = 0.008, SRMR = 0.022 และ p-value = 0.390 แสดงว่าโมเดลการวัดมีความเป็นตัวแทนที่ดี โดยค่าน้ําหนักขององค์ประกอบในรูป คะแนนมาตรฐานมีค่าใกล้เคียงกันและเป็นไปทิศทางเดียวกัน (A :: = 1.207, A df = 0) 3. ผลการจําแนกกลุ่มนักศึกษาตามลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี พบว่า การจําแนกกลุ่มนักศึกษาได้ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่ม 1 กลุ่มนักศึกษาที่ ต้องเร่งพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีจํานวน 187 คน (32.63%) กลุ่ม 2 กลุ่มนักศึกษาผู้นําการ เรียนรู้ตลอดชีวิตรอบด้าน มีจํานวน 70 คน (12.22%) และกลุ่ม 3 กลุ่มนักศึกษาผู้มุ่งมั่น สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต มีจํานวน 316 คน (55.15%) โดยมีค่า Likelihood = 6,679.845, Entropy (Eb) = 0.903, AIC = 13,499.69, BIC = 13,804.252 และ ABIC = 13,582.032 และผลการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างผลการจัดกลุ่มของนักศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตกับเพศ ชั้นปี และกลุ่ม สาขาวิชา พบว่าเพศ และชั้นปีของนักศึกษาไม่มีความความสัมพันธ์กับความแตกต่างระหว่างกลุ่มการ เรียนรู้ตลอดชีวิต ในขณะที่กลุ่มสาขาวิชาของนักศึกษามีความสัมพันธ์กับความแตกต่างระหว่างกลุ่ม การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580232021 พิมผกา อ้อมอารี.pdf12.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.