Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Nantawarn Kitikannakorn-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Payom Wongpoowarak-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Teerapon Dhippayom-
dc.contributor.authorPantira Parinyaruxen_US
dc.date.accessioned2020-08-14T03:01:52Z-
dc.date.available2020-08-14T03:01:52Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69540-
dc.description.abstractThai pharmacy core competencies are used as a standards to develop pharmacists’ professional role and for pharmacy licensure examination. Pharmacy competencies framework were established to develop and accredit pharmacy students and pharmacists performance. The Pharmacy Council of Thailand established pharmacy core competencies and professional competencies which were categorized into 3 main tracks: pharmaceutical care (PC), industrial pharmacy (IP), and medication and health consumer protection. The PC competencies were used to developed pharmacists who work in hospital and community pharmacy. But, they had different expectation of competencies standard for their professional practices and they need their specific professional competencies. This research aimed to develop a consensus statement of competencies for community pharmacists in Thailand and define a statement of competencies that pharmacy student must develop during 6th year community pharmacy clerkship rotation. There were 2 phases of study process. In phase 1, to generate a comprehensive list of community pharmacy competencies for pharmacists using a systematic review, a customers’ expectation survey, and a consensus from educators’face to face meeting. In phase 2, to develop a statement of community pharmacy competencies for pharmacists in Thailand using Delphi technique, and to define competencies for 6th year community pharmacy clerkship using nominal group technique (NGT) in educators review process.Forty-four competencies were defined as the community pharmacy competencies for pharmacists in Thailand and divided into 4 domains: Personal competencies, Pharmacy Professional competencies, Patient care competencies, and Management competencies. Of 44 competencies, 23 competencies were identified as essential and very important competencies for 6th year community pharmacy clerkship: 7 Personal competencies, 3 Pharmacy Professional competencies, and 13 Patient care competencies. Community pharmacy in Thailand is deemed as a healthcare business that sector provide both medicines and health services to customers. Community pharmacy competencies should encompass the individual patient care, ability to encourage health prevention and health promotion together with provide health and medication information, and conducting business management under ethical standards. Pharmacy students need to develop patient care performances, implement professional ethics in their pharmacy practice with service-mind attitude, maintain confidentiality, and perform health screening and health promotion during 6th year community pharmacy clerkship rotation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of Competencies of Community Pharmacy Clerkship in Thailanden_US
dc.title.alternativeการพัฒนาสมรรถนะของการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชนในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสมรรถนะหลักของเภสัชกรในประเทศไทยใช้เป็นมาตรฐานในการพัฒนาการปฏิบัติวิชาชีพของเภสัชกร และเป็นแนวทางการสอบวัดความรู้ของบัณฑิตเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรมกาหนดสมรรถนะเฉพาะสาขาไว้ 3 สาขาตามประกาศเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาต่าง ๆ ได้แก่ สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ และสาขาคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพ เภสัชกรโรงพยาบาลและเภสัชกรชุมชน (ร้านยา) กาหนดให้ใช้สมรรถนะชุดสมรรถนะเดียวกัน คือ สมรรถนะเฉพาะสาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม แต่พบว่าเภสัชกรทั้งสองสาขามีความคาดหวังต่อมาตรฐานในการปฏิบัติงานและสมรรถนะที่แตกต่างกัน และต้องการสมรรถนะเฉพาะสาขาที่เฉพาะเจาะจงกับการปฏิบัติงาน งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะสาขาเฉพาะทางเภสัชกรรมชุมชนของประเทศไทย และระบุสมรรถนะสาขาเฉพาะทางเภสัชกรรมชุมชนสาหรับการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพชั้นปีที่ 6 งานวิจัยประกอบด้วย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เพื่อรวบรวมสมรรถนะเฉพาะสาขาเภสัชกรรมชุมชนจากขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ การสารวจความคาดหวังของผู้รับบริการร้านยา และการประชุมระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ระยะที่ 2 เพื่อพัฒนาสมรรถนะเฉพาะสาขาเภสัชกรรมชุมชนของประเทศไทยโดยวิธีเดลฟาย (Delphi technique) และเพื่อบุระบุสมรรถนะสาขาเฉพาะทางเภสัชกรรมชุมชนสาหรับการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพชั้นปีที่ 6 ด้วยวิธีเทคนิคกลุ่มสมมตินัย (NGT) ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะสาขาเฉพาะทางเภสัชกรรมชุมชนของประเทศไทยประกอบด้วย 44 สมรรถนะ แบ่งเป็น 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล มิติด้านวิชาชีพเภสัชกรรม มิติด้านการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย และมิติด้านการบริหารจัดการ ในชุดสมรรถนะสาขาเฉพาะทางเภสัชกรรมชุมชนของประเทศไทย มี 23 สมรรถนะที่ถูกระบุว่ามีความสาคัญมากในการพัฒนาให้เกิดขึ้นในระหว่างการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพชั้นปีที่ 6 โดยมี 7 สมรรถนะด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล 3 สมรรถนะด้านวิชาชีพเภสัชกรรม และ 13 สมรรถนะด้านการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย ร้านยาในประเทศไทยเป็นหน่วยบริการด้านสุขภาพเชิงธุรกิจที่ให้บริการด้านยาและสุขภาพแก่ผู้รับบริการ สมรรถนะเฉพาะสาขาเภสัชกรรมชุมชนของเภสัชกรในประเทศไทยจึงครอบคลุมสมรรถนะด้านการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคให้กับผู้รับบริการ การให้บริการข้อมูลด้านยาและสุขภาพ รวมไปถึงการดาเนินธุรกิจบนพื้นฐานของการมีจริยธรรมจรรยาบรรณที่ดี จากข้อมูลสมรรถนะเฉพาะสาขาเภสัชกรรมชุมชนของเภสัชกรในประเทศไทย มีสมรรถนะที่ถูกระบุว่ามีความสาคัญมากในการพัฒนาให้เกิดขึ้นในระหว่างการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพชั้นปีที่ 6 ได้แก่ การพัฒนาความสามารถในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย การให้บริการด้วยความเต็มใจภายใต้จริยธรรม จรรยาบรรณที่ดี พัฒนาความสามารถในการรักษาความลับผู้ป่วย การให้บริการคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้รับบริการen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591051012 ภัณฑิรา ปริญญารักษ์.pdf4.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.