Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69535
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Clin. Prof. Virush Patanaporn | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Dr. Chaiy Rungsiyakull | - |
dc.contributor.author | Puttnaree Kittichaithankoon | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-12T02:01:57Z | - |
dc.date.available | 2020-08-12T02:01:57Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69535 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were: (1) to evaluate the optimal force magnitude that can be applied to the initial uprighting of partially-impacted mandibular second molars without exceeding the hydrostatic pressure of the periodontal ligament (PDL) capillary vessels’ blood pressure, which is 0.0047 megapascal (MPa); and (2) to describe the von Mises stress distribution patterns in each tooth and initial tooth indisplacement, using the finite element method. A three-dimensional finite element model was developed from CBCT images. Various pushing forces, 35-150 grams, from an interradicular miniscrew head, which was placed in the cortical bone between the second premolar (#35) and first molar (#36) roots, to a buccal mini-tube on the impacted second molar tooth (#37), were applied to evaluate the optimal force magnitude. Moreover, the result of the first research purpose (the optimal force magnitude) was used to simulate the von Mises stress distribution in each tooth and the initial tooth displacement. The greatest force magnitude that was equivalent to the hydrostatic pressure of the PDL, when a single pushing uprighting force was applied, was 80 grams. The maximum von Mises stress distributions in teeth #37, #36, and #35 were 4.805 MPa, 2.242 MPa, and 0.623 MPa, respectively. Additionally, the region of maximum von Mises stress was on the contact area of each tooth. The displacement pattern of the target tooth was distal crown tipping, slightly distal root movement, lingual crown tipping, buccal root tipping and disto-lingual rotation of the crown. Besides, this study found that teeth #36 and #35 were displaced, though force was not directly applied to it. Teeth #36 and #35 had slight distal crown tipping, lingual crown tipping, and extrusion. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Impacted mandibular second molar | en_US |
dc.subject | Upright mechanics | en_US |
dc.subject | Miniscrew anchorage | en_US |
dc.subject | Finite element method | en_US |
dc.title | Effects of Mechanics for Uprighting Partially Impacted Mandibular Second Molar with Miniscrew Anchorage Using CBCT Imaging: A Finite Element Method | en_US |
dc.title.alternative | ผลของกลไกการเคลื่อนฟันเพื่อตั้งฟันกรามล่างแท้ซี่ที่สองฝังคุด บางส่วนด้วยหลักยึดหมุดฝังในกระดูก จากภาพโคนบีมคอมพิวเตต โทโมกราฟฟี: วิธีวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (๑) ประเมินขนาดของแรงมากที่สุดสำหรับการตั้งฟันกราม ล่างแท้ซี่ที่สองฝังคุดบางส่วนโดยไม่เกินความดันหลอดเลือดฝอยในเอ็นยึดปริทันต์ (๐.๐๐๔๗ เมกะ พาสคัล) (๒) เพื่ออธิบายรูปแบบของการกระจายความเค้นวอนมิสเซสบนฟัน และลักษณะการเคลื่อน ฟันช่วงต้น วิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ แบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์สามมิติ สร้างจากภาพโคน บีมคอมพิวเตตโทโมกราฟฟี ให้แรงผลักขนาด ๓๕ ถึง ๑๕๐ กรัม โดยแนวแรงวางตัวจากหลักยึดหมุด ฝังในกระดูกที่อยู่ระหว่างรากฟันกรามน้อยแท้ซี่ที่สอง (#๓๕) และฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่ง (#๓๖) ไปยัง ท่อข้างแก้มขนาดเล็กบนฟันกรามซี่ที่สองซึ่งเป็นฟันฝังคุด (#๓๗) เพื่อหาปริมาณค่าแรงเหมาะสม ด้วยโปรแกรมอบาคัส โดยปริมาณแรงที่เหมาะสมได้จากจุดประสงค์งานวิจัยข้อที่หนึ่ง จะนำมาใช้เพื่อ อธิบายรูปแบบการกระจายความเค้นวอนมิสเซสบนฟันและลักษณะการเคลื่อนฟันในช่วงต้น ผล การศึกษาพบว่า ค่าแรงมากที่สุดที่ไม่เกินความดันหลอดเลือดฝอยในเอ็นยึดปริทันต์ สำหรับกลไกการ ตั้งฟันกรามล่างแท้ซี่ที่สองฝังคุด (โดยแรงผลักเดี่ยว) มีค่าเท่ากับ ๘๐ กรัม โดยค่าความเค้นวอนมิสเซ สสูงสุดจากค่าแรง ๘๐ กรัม บน#๓๗ #๓๖ และ #๓๕ มีค่า ๔.๘๐๕ ๒.๒๔๒ และ ๐.๖๒๓ เมกะพาส คัล ตามลำดับ โดยตำแหน่งของค่าความเค้นวอนมิสเซสสูงสุดอยู่บริเวณจุดสัมผัสระหว่างฟันแต่ละซี่ ในส่วนของลักษณะการเคลื่อนฟันช่วงต้นของ #๓๗ ได้แก่ ตัวฟันล้มเอียงด้านไกลกลาง รากเคลื่อน ด้านไกลกลางเล็กน้อย ตัวฟันล้มเอียงด้านลิ้น รากฟันล้มเอียงด้านแก้ม และตัวฟันหมุนไปด้านไกล กลางและลิ้น นอกจากนี้ การศึกษายังพบว่า มีการเคลื่อนที่ของฟัน #๓๖ และ #๓๕ ซึ่งไม่ได้รับแรง โดยตรง โดยมีลักษณะการเคลื่อนคือ ตัวฟันล้มด้านลิ้นและด้านไกลกลางเล็กน้อย และเกิดการดันฟัน ออกจากเบ้ากระดูก | en_US |
Appears in Collections: | DENT: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600931005 พัฒน์นรี กิตติชัยธนะกุล.pdf | 8.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.