Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr.Virapong Saeng-Xuto-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr.Rajchukam Tongthaworn-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr.Thanes Sriwichailamphan-
dc.contributor.authorSapanna Kaewtapeeen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:01:45Z-
dc.date.available2020-08-12T02:01:45Z-
dc.date.issued2020-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69533-
dc.description.abstractThis qualitative study aimed to explore identities of Laotians in Luang Prabang and Lao diaspora in Chiang Rai province performed in Khab Thum Luang Prabang traditional songs. phenomenological research was employed to investigate the ethnic group maintaining Lao Luang Prabang identities in Baan Huay Luek which was utilized and presented to fight against or negotiate with the surrounding culture. This led to the maintenance of Lao Luang Prabang identities through Khab Thum Luang Prabang of Lao diaspora in Baan Huay Luek. Data related through Khab Thum Luang Prabang were gained from related books/documents and field survey (participatory observation). Then, it was analyzed to interpret the identity creation of the Lao diaspora through melody and lyric of Khab Thum Luang Prabang traditional songs. Results of the study revealed that the self-creation and existence of Lao identities in various forms was under the concept of new national state. The self-acceptance of the Lao diaspora was under the process of Thai making through the exploration of language and culture happened under the concept of the nation state stability and unity of the Lao diaspora. This led to the nostalgia creating the cultural rehabilitation process. The process of diaspora becoming of Laotians in Baan Huay Luek had important factors arised from the past political change in Laos P.D.R. The relationship tie between the Lao diaspora and Laotians in Luang Prabang througgh Khab Thum Luang Prabang traditional songs could conserve and maintain their identities as part of Laotian culture which can be used for fighting against their surrounding culture.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectKhab Thum songsen_US
dc.subjectidentityen_US
dc.subjectLao diasporaen_US
dc.titleIdentities of Laotians in Luang Prabang and Lao Diasproa in Chiang Rai Province Performed in KhapThum Luang Prabang Traditional Songsen_US
dc.title.alternativeอัตลักษณ์ของลาวหลวงพระบางและลาวพลัดถิ่นในจังหวัดเชียงรายผ่านเพลงขับทุ้มหลวงพระบางen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาอัตลักษณ์ของลาวหลวงพระบางและลาวพลัดถิ่นในจังหวัดเชียงราย ผ่านเพลงขับทุ้มหลวงพระบาง โดยใช้แนวทางการศึกษาแบบปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological Research) ศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการธำรงอัตลักษณ์ความเป็นลาวหลวงพระบางของชุมชนบ้านห้วยลึก จังหวัดเชียงราย ที่อดีตต้องปิดซ่อนความเป็นลาวด้วยเหตุผล ความไม่มั่นคงของความเป็นพลเมืองของรัฐไทย แต่ปัจจุบันความเป็นลาวหลวงพระบางได้ถูกหยิบใช้ และนำเสนอเพื่อการแสดงตัวตนความเป็นลาวหลวงพระบางที่ชาวลาวพลัดถิ่นบ้านห้วยลึกอยากจะเป็นนำไปสู่การธำรงอัตลักษณ์หลวงพระบางผ่านเพลงขับทุ้มหลวงพระบาง โดยศึกษาจากการเก็บข้อมูล ด้านดนตรีและบริบทพื้นที่ ตั้งแต่การตั้งถิ่นฐาน ประวัติ ความเป็นมาของชาวลาวพลัดถิ่น (Lao) คนพลัดถิ่น (Diaspora) อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ (Ethnic Identity) ชาติพันธุ์ดนตรีวิทยา (Ethnomusiccology) ตลอดจนงานวิจัยเกี่ยวข้องกับการขับทุ้มหลวงพระบาง จากเอกสาร หนังสือ และการลงภาคสนามทำการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การบันทึกเทป และการวิเคราะห์ เพื่อตีความเกี่ยวกับการใช้เพลงขับทุ้มหลวงพระบาง ในการสร้างอัตลักษณ์ของลาวพลัดถิ่น โดยศึกษาผ่านทำนอง เนื้อร้อง ของเพลงขับทุ้มหลวงพระบาง และการนำ เพลงขับทุ้มไปใช้ เพื่อธำรงอัตลักษณ์ความเป็นลาวหลวงพระบางสู่ ลาวพลัดถิ่น จากการศึกษา พบว่า อัตลักษณ์ลาว การสร้างตัวตนและการคงอยู่ ภายใต้แนวคิดในเรื่องของรัฐชาติสมัยใหม่ การเข้ามาเป็นประชากรไทย ทั้งที่ยังบอกและแสดงตัวตนว่าเป็นคนลาวและสะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นลาวออกมาในรูปแบบต่าง ๆ อีกทั้งยังมีการถ่ายทอดอัตลักษณ์ไปถึงคน รุ่นใหม่ การยอมรับตัวตนของตนเองภายใต้กระบวนการทำให้เป็นไทยผ่านการศึกษา ภาษา วัฒนธรรมหลักที่เกิดขึ้นมาภายใต้แนวคิดเรื่องของความมั่นคงแห่งรัฐชาติ และความเป็นหนึ่งเดียวภายใต้เส้นพรมแดนของรัฐ ในฐานะคนพลัดถิ่น(Diaspora) และสำนึกในเรื่องของพื้นที่ที่เป็นมาตุภูมิ นำไปสู่เรื่องของการโหยหาอดีต (Nostalgia) ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการรื้อฟื้นทางวัฒนธรรม จากการศึกษางานเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ลาวควบคู่กับการสัมภาษณ์ชาวบ้านห้วยลึกที่สะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการกลายเป็นคนพลัดถิ่นของชาวลาวห้วยลึกนั้น มีปัจจัยที่สำคัญจากสภาวะความเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองการปกครองของประเทศลาว กระบวนการเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยภายใต้สภาวะของความเป็นรัฐชาติ ได้นำเพลงขับทุ้มหลวงพระบาง ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของตนเองมาใช้ในบริบทต่าง ๆ และยังคงสืบทอดวัฒนธรรมที่เป็นรากเหง้า แสดงความโหยหาความเป็นอดีต ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชน และการสานสัมพันธ์กับกลุ่มบ้านเกิด ผ่านบทเพลงที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชนนั้น เป็นการนำมาซึ่งทำนองและฉันทลักษณ์ของบทเพลง ส่วนเนื้อร้องจะเปลี่ยนไปตามความต้องการของผู้ร้องและโอกาสในนำไปใช้นั้นเปลี่ยนไปตามสภาพของพื้นที่วัฒนธรรมของพื้นที่ดำรงอยู่en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570252023 สปัญญ์นา แก้วตาปี.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.