Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ปารเมศ วิระสันติ-
dc.contributor.authorประพันธ์ ถาไชยen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T02:00:42Z-
dc.date.available2020-08-12T02:00:42Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69524-
dc.description.abstractAccording to the increase of the charging stations, the policy, the development of battery and cost reductions, the number of global electric passenger cars has recently reached 3 million in 2017. From a significant increase in electric vehicles (EV), the concept of using the EV for an ancillary service in the power system is discussed. Regarding the ancillary service in the power system, there are 4 functions, i.e. frequency regulation, peak power shaving, reactive power compensation, and renewable energy support. Among those 4 functions, the frequency regulation is focused in this paper, since the frequency is a power system state variable. In this research, the application of EV as the frequency regulation service is focused on secondary control (SC). Because the regulation period of SC is a suitable range for the owner or aggregator to decide for entering the service. To validate the proposed concept, the EV model is tested in the distribution system with 2 cases, namely aggregated mode and distributed mode. Form the simulation result, it was found that convergence of the frequency response and overall power system stability are better.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ยานยนต์ไฟฟ้าสำหรับบริการเสริมการควบคุมความถี่ในระบบไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeApplication of Electric Vehicle as an Ancillary Frequency Regulation Service in Power Systemen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากการเพิ่มขึ้นของสถานีอัดประจุแบตเตอรี่, การวิจัยและพัฒนาแบตเตอรี่อย่างกว้างขวาง ส่งผลทำให้ต้นทุนของแบตเตอรี่ลดลงและประสิทธิภาพสูงขึ้น และนโยบายรณรงค์การลดใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล ส่งผลทำให้ยานยนต์ไฟฟ้าได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ในปี 2560 มียานยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกถึง 3 ล้านคัน ดังนั้นจึงมีแนวคิดการประยุกต์ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าสำหรับ บริการเสริมในระบบไฟฟ้า โดยการบริการเสริมในระบบไฟฟ้าประกอบได้ 4 ลักษณะ คือ การช่วยรักษาความถี่ในระบบไฟฟ้า, การช่วยลดขนาดความต้องการสูงสุด, การช่วยชดเชยกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ และการช่วยสนับสนุนกำลังการผลิตจากโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ในงานวิจัยนี้จะมุ่งเน้นทำการศึกษาการช่วยรักษาความถี่ในระบบไฟฟ้า เนื่องจากความถี่เป็นตัวแปรที่สำคัญอย่างหนึ่งในการรักษาคุณภาพไฟฟ้า งานวิจัยนี้ได้ทำการประยุกต์ใช้ยานยนต์เป็นบริการเสริมในการรักษาความถี่ในช่วงที่สอง ของการควบคุมความถี่ซึ่ง เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมของเจ้าของยานยนต์ไฟฟ้า หรือเป็นช่วงเวลาที่ศูนย์ควบคุมกำลังการผลิตมีความต้องการกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น เพื่อตรวจสอบแนวคิดที่นำเสนอ จะทำการทดสอบกับระบบไฟฟ้าจำลองใน 2 กรณี คือการรวมกลุ่มของยานยนต์เพื่อช่วยสนับสนุนในการช่วยรักษาความถี่ในระบบไฟฟ้า และอีกกรณีคือการกระจายตัวของยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อช่วยสนับสนุนในการช่วยรักษาความถี่ในระบบไฟฟ้า จากผลการทดลองพบว่าการช่วงเวลาในการรักษาความถี่ของระบบไฟฟ้า และเสถียรภาพของระบบไฟฟ้าดีขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631142 ประพันธ์ ถาไชย.pdf5.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.