Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันชัยสวัสดิ์-
dc.contributor.authorนันท์นภัส ยอดแบนen_US
dc.date.accessioned2020-08-12T01:59:36Z-
dc.date.available2020-08-12T01:59:36Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69514-
dc.description.abstractThis objective presents the behavior analysis of rock around tunnels and the structure of tunnels constructed by drilling and blasting. The construction of a diversion tunnel project under the Royal Irrigation Department, which was built in the Mae Tang - Mae Ngad, ADIT-1 area at Chiangmai Province Under Geological Survey data at the entrance and exit of the tunnel. The tunnel is a horseshoe shaped wide 6 meters high 5.77 meters with a support system, which consists of rock bolts. Steel rib and shotcrete with the wire mesh to enhance the tunnel stability in the form suitable for the area. All behavior was analyzed by means of three-dimensional discrete elements. The focus is on the movement of the rock layer. Settlement of tunnel structure and stress distribution in the tunnel area. In case no water is sent inside the tunnel. This is used as a guideline to control the movement behavior of rock mass around the tunnel, especially in the crown of the tunnel. effect on concrete components from movement of the surrounding rock mass. The displacement analysis by varying k (In-situ stress ratio) ratio 0.25, 0.50, 0.75, 1.00, 1.25 and 3.00. It is the found that k (In-situ stress ratio) 0.50 is suitable for assessing the potential for Discrete Element Method. Therefore case k (In-situ stress ratio) ratio 0.50 will be evaluated displacement. The average of displacement at Sta.0+230, 0+290 and 0+350 in the crown of the tunnel was in the order of 0.00126, -0.00307 and -0.00615 mm. respectively. Which is close to the actual measured value in the field. The stability analysis for stress distribution in the tunnel area, Therefore case support system for tunnels will be increased stability. As a result, stress distribution in the tunnel area increased because the area around the tunnel has increased strength.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์พฤติกรรมของอุโมงค์ในหินที่ก่อสร้างด้วยการเจาะระเบิดโดยใช้วิธีดิสครีตเอลิเมนต์en_US
dc.title.alternativeBehavior Analysis of Rock Tunnel Constructed by Drill and Blast Using Discrete Element Methoden_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้นาเสนอผลการวิเคราะห์พฤติกรรมของหินรอบอุโมงค์และโครงสร้างของอุโมงค์ที่ก่อสร้างด้วยการเจาะระเบิด จากโครงการก่อสร้างอุโมงค์ส่งน้าของกรมชลประทานที่ก่อสร้างในพื้นที่ช่วงแม่แตง - แม่งัด บริเวณทางเข้า - ออกหมายเลข 1 จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ข้อมูลการสารวจทางธรณีทางธรณีวิทยาบริเวณทางเข้าและทางออกของอุโมงค์ ซึ่งอุโมงค์มีลักษณะเป็นรูปเกือกม้า ขนาดกว้าง 6 เมตร สูง 5.77 เมตร โดยมีระบบค้ายันซึ่งประกอบด้วยหมุดยึดหิน โครงเหล็กค้ายันและคอนกรีตพ่นร่วมกับตาข่ายลวดเพื่อเพิ่มเสถียรภาพของอุโมงค์ตามรูปแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่ โดยวิเคราะห์พฤติกรรมทั้งหมดด้วยวิธีดิสครีตเอลิเมนต์แบบสามมิติ โดยมุ่งเน้นในการหาการเคลื่อนตัวของชั้นหิน การทรุดตัวของโครงสร้างอุโมงค์ และค่าการกระจายตัวของความเค้นบริเวณรอบอุโมงค์ ในกรณีที่ยังไม่มีการส่งน้าเข้าไปภายในอุโมงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางการควบคุมพฤติกรรมของการเคลื่อนตัวของมวลหินโดยรอบอุโมงค์โดยเฉพาะบริเวณส่วนเพดานของอุโมงค์ และผลกระทบต่อโครงสร้างอุโมงค์จากการเคลื่อนตัวของมวลหินโดยรอบอุโมงค์ ผลการวิเคราะห์การหาค่า k (อัตราส่วนของหน่วยแรงในแนวนอนต่อหน่วยแรงในแนวดิ่ง) โดยเปลี่ยนค่า k 0.25, 0.50, 0.75, 1.00, 1.25 และ 3.00 พบว่าที่ค่า k เท่ากับ 0.50 ค่าเฉลี่ยของการเคลื่อนตัวบริเวณระยะทางที่ 0+230, 0+290 และ0+350 ณ.ตาแหน่งเพดานอุโมงค์ (Crown) มีค่าเท่ากับ 0.00126, -0.00307 และ -0.00615 ตามลาดับซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับค่าที่วัดได้จริงในสนามจึงเหมาะสมที่สุดที่จะนามาใช้ในการสร้างแบบจาลอง ส่วนการวิเคราะห์กระจายตัวของความเค้น(Stress Distribution) บริเวณรอบอุโมงค์ พบว่ากรณีที่อุโมงค์มีการค้ายันจะส่งผลให้เสถียรภาพเพิ่มมากขึ้น เป็นผลให้ความเค้นบริเวณรอบอุโมงค์เพิ่มขึ้นเนื่องจากบริเวณรอบอุโมงค์มีการรับแรงเพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580631092 นันท์นภัส ยอดแบน.pdf5.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.