Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69503
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร.ชมพูนุท เกษมเศรษฐ์ | - |
dc.contributor.author | ธนัช จิราตระกาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-11T02:25:44Z | - |
dc.date.available | 2020-08-11T02:25:44Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69503 | - |
dc.description.abstract | This research presents a mathematical model for product storage assignment considering two objectives that are to minimize total traveling time and congestion in storage area. Numerical example problems with different in the number of storage blocks and product types were solved to demonstrate how the proposed model and procedure work. Firstly, considering a small-size test problem, the mathematical model was formulated and the optimal solution of each objective function was solved using the exact algorithm via LINGO. Then two objectives were combined using Weight Normalization technique to present the compromise solution and the solution was verified by checking the problem’s constraints. The exact algorithm cannot present the optimal solution when the size of problem is increased, one meta-heuristic method, GLN-PSO, was applied together with the Pareto technique for finding the compromise solution of the two objectives. Then the solutions were compared with the previous research, Pongsakorn Meesuk (2014), that considered only minimizing the total traveling distance. The comparison with the previous research presented that the proposed method yield better performance in terms of total time and congestion when the total traveling distance was greater than the previous research about 5%. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การกำหนดตำแหน่งการจัดเก็บสินค้าโดยพิจารณาเวลาและ ความถี่สำหรับการเข้าสู่พื้นที่ช่องจัดเก็บสินค้า | en_US |
dc.title.alternative | Product Storage Location Assignment Considering Time and Frequency for Accessing Product Storage Area | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้ทำการนำเสนอแบบจำลองคณิตศาสตร์ เพื่อกำหนดตำแหน่งช่องจัดเก็บสินค้า โดยพิจารณาสองวัตถุประสงค์ คือ ลดระยะเวลารวมในการเข้าสู่พื้นที่ช่องเก็บและลดความแออัดภายในพื้นที่ช่องเก็บ โดยใช้ตัวอย่างปัญหาเชิงตัวเลขที่มีจำนวนช่องเก็บ และจำนวนชนิดสินค้าที่แตกต่างกันออกไปมาทำการแสดงการหาคำตอบ โดยเริ่มจากการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ และทำการหาคำตอบโดยใช้วิธีทางตรงเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุดในแต่ละวัตถุประสงค์สำหรับปัญหาทดสอบขนาดเล็กโดยใช้โปรแกรม LINGO จากนั้นทำการใช้เทคนิคการรวมวัตถุประสงค์ด้วยวิธี Weight Normalization เพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดของทั้งสองวัตถุประสงค์ และตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบที่ได้ แต่เนื่องด้วยข้อจำกัดของวิธีการแก้ปัญหาโดยตรง ทำให้ไม่สามารถหาคำตอบในตัวอย่างปัญหาขนาดกลางและขนาดใหญ่ได้ จึงได้นำวิธีแก้ปัญหาแบบเมตะฮิวริสติกส์ ที่มีชื่อว่า GLN-PSO มาประยุกต์ใช้ในปัญหาขนาดกลางและขนาดใหญ่ และใช้เทคนิค Pareto ในการหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดของทั้งสองวัตถุประสงค์ จากนั้นนำคำตอบที่ได้มาเปรียบเทียบกับคำตอบจากโปรแกรม LINGO พบว่าคำตอบที่ได้จาก GLN-PSO มีความใกล้เคียงกับคำตอบที่ได้จาก LINGO และใช้เวลาในการคำนวณน้อยกว่า นอกจากนั้นนำคำตอบที่ได้ไปทำการเปรียบเทียบกับงานวิจัยอ้างอิงของ พงศกร มีสุข (2558) ซึ่งเป็นงานวิจัยในปัญหารูปแบบเดียวกันที่พิจารณาเฉพาะการหาระยะทางในการเข้าถึงพื้นที่ช่องเก็บที่น้อยที่สุด พบว่า คำตอบที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถลดระยะเวลา และลดความแออัดในการเข้าถึงพื้นที่ช่องเก็บโดยที่ระยะทางในการเข้าถึงพื้นที่ช่องเก็บเกิดความคลาดเคลื่อนจากคำตอบของงานวิจัยอ้างอิงไม่เกินร้อยละ 5 | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590631031 ธนัช จิราตระกาล.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.