Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69501
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Associate Professor Dr. Phisit Limtrakun | - |
dc.contributor.author | Thikapong Thata | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-11T02:25:16Z | - |
dc.date.available | 2020-08-11T02:25:16Z | - |
dc.date.issued | 2020-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69501 | - |
dc.description.abstract | The Nan – Uttaradit suture is the most complex suture in Thailand. It has been interpreted to mark the boundary between the Sibumasu block located in the west of Thailand (Sukhothai Zone) and the Indochina block located in the east of Thailand. The mafic and ultramafic and metamorphic rocks are exhumed along the Nan river and are evidenced by the subduction zone. The amalgamation of these two blocks may have occurred in the Permian – Triassic. The study area is located in the south of Nan province and covers an area of approximately 22 km2. The purpose of this study is to characterize deformation event of metamorphism and define structural geology by using petrography and structural analysis. Geological setting of the study area can be divided into four rocks units; (1) the Mélange blocks unit (A), (2) the Limestone unit (B), (3) gray sedimentary rocks unit (C), and (4) the Red bed sedimentary rocks unit (D). The unit A comprises mafic – ultramafic igneous and metamorphic rocks including peridotite, gabbronorite, hyaloclastite, metabasite, metachert and deformed limestone. The unit B is demonstrated micritic limestone. The unit C consists of sedimentary rocks including polymictic conglomerate and sandstone lithic arenites. The unit D contains sedimentary rocks including sandstone lithic wacke, sandstone lithic arenite, sandstone feldspathic wacke, and monomictic conglomerate. The provenance analysis by using the ternary diagrams of Dickinson and Suczek (1979). The sandstone modal analysis of unit C indicated transitional arc provenance as the main source area with minor undissected arc and lithic recycled orogent that indicated back – arc tectonic setting. The sandstone modal analysis of unit D suggested undissected arc provenance as the main source area with minor transitional are and craton interior that indicated island arc or foreland arc basin and rifted continental margin tectonic setting, respectively. The structural study of metasedimentary rocks shows the direction of principal stress (σ1, σ2, and σ3). Their direction can be divided into two different directions. The first direction shows in metachert of unit A. The principal stress directions are 57/255, 24/028, and 22/128 respectively. The second direction shows in metapelite located in between the boundary of unit A and unit C. The principal stress directions are 19/100, 8/192, and 70/304 respectively. The first and second directions are nearly opposite sides of each other (180° difference). This relationship signifies by fault boundary in the study area. The deformation evolution can be separated into two events. The first deformation (D1) is shown by foliation (S1) of the mineral alinement and the second deformation (D2) develops open to close fold and zonal crenulation cleavage (S2). The mineralogy and P – T conditions of the studied metamorphic rocks are from metachert (quartz schist) and metabastie. Their mineral components compose of albite + quartz + piemontite + epidote + muscovite + hematite + magnetite ± stilpnomelane and magnesite + quartz + H2O. Based on P – T estimate, the metachert gives P – T condition temperature of 363 – 422 °C and 6.4 ± 0.4 kbars whereas the metabasite temperature is around 200 – 325 °C and 1 kbar. The P – T conditions relatively indicate high pressure and low to medium temperature metamorphism of greenschist facies. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Structure and Deformation of Metamorphic Rocks in Doi Phuk Sung Area, Wiang Sa District, Nan Province | en_US |
dc.title.alternative | โครงสร้างและการเปลี่ยนรูปของหินแปรในพื้นที่ดอยพุกสูง อา เภอเวียงสา จังหวัดน่าน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | แนวเชื่อมแผ่นธรณีสัณฐานน่าน – อุตรดิตถ์คือหนึ่งในแนวเชื่อมแผ่นธรณีสัณฐานที่มีความซับซ้อน มากที่สุดในประเทศไทย แนวเชื่อมนี้ถูกแปลความหมายให้เป็นแนวเชื่อมระหว่างแผ่นธรณีสัณฐาน ไซบูมาสุทางฝั่งตะวันตก และแผ่นธรณีสัณฐานอินโนไชน่าทางฝั่งตะวันออกของประเทศไทย แนว หินอัคนีสีเข้มถึงสีเข้มมากและหินแปรที่โผล่ตามแนวลา น้า น่าน ลกั ษณะดังกล่าวแสดงถึง ความสัมพันธ์ในเชิงธรณีวิทยาแปรสัณฐานแบบการชนกันของแผ่นทวีป ในช่วงปลายของยุคไทรแอ สซิก พื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณดอยพุกสูง อา เภอเวียงสา จังหวัดน่าน มีขอบเขตพื้นที่ศึกษาประมาณ 22 ตารางกิโลเมตร โดยขอบเขตของการศกึ ษามุ่งเน้นศกึ ษา ลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้าง และการเปลี่ยน รูปของหินแปร เพื่อใช้ในการอธิบายวิวัฒนาการของการเปลี่ยนรูปของหินแปร จากลักษณะทางวิทยาหินและศิลาวรรณนาภายใต้กล้องจุลทรรศน์โพลาไรซิงสามารถแบ่งหิน ในพื้นที่ศึกษาได้เป็นสี่หน่วยหิน ได้แก่ (1) หน่วยหินบล๊อกเมลอน (หน่วยหิน A) ประกอบด้วย หินเพ ริโดไทต์ หินแกรโบนอไรต์ ไฮยาโลคลาสไตต์ และ หินแปรที่แปรสภาพมาจาก หินอัคนีสีเข้ม หิน เชิร์ต และ หินปูน (2) หน่วยหินปูน (หน่วยหิน B) ประกอบด้วย หินปูนมิไครต์ (3) หน่วยหินตะกอน สีเทา (หน่วยหิน C) ประกอบด้วย หินกรวดมน และ หินทรายอารีไนต์ที่มีเศษหินเป็นส่วนประกอบ และ (4) หน่วยหินตะกอนสีแดง (หน่วยหิน D) ประกอบด้วย หินกรวดมน หินทรายอารีไนต์ที่มีเศษ หินเป็นส่วนประกอบ หินทรายเกรย์แวกที่มีเศษหินเป็นส่วนประกอบ และ หินทรายเกรย์แวกที่มี เฟลด์สปาร์เป็นส่วนประกอบ ซึ่งรอยต่อระหว่างหน่วยหิน A C และ D เป็นรอยต่อแบบรอยเลื่อนย้อน จากการศึกษาต้นกา เนิดตะกอนของหินตะกอนในพื้นที่ศึกษาพบว่า หินทรายในหน่วยหิน C มีลักษณะต้นกา เนิดตะกอนอยใู่ นช่วงทรานซิชันอากเป็นส่วนใหญ่ และต้นกา เนิดตะกอนแบบ แนว ภูเขาไฟรูปโค้งแบบไม่ผ่านการกัดเซาะกับแบบแนวการก่อเทือกเขาแบบผา่นการกัดเซาะ เป็นส่วน น้อย บ่งบอกถึงลักษณะธรณีวิทยาแปรสัณฐานแบบแอ่งหลังแนวภูเขาไฟ ส่วนหินทรายในหน่วยหิน D ลักษณะต้นกา เนิดตะกอนอยใู่ นช่วง แนวภูเขาไฟรูปโค้งแบบไม่ ผ่านการกัดเซาะเป็นส่วนใหญ่ และต้นกา เนิดตะกอนแบบ แนวภูเขาไฟรูปโค้งแบบกึ่งการกัดเซาะ กับ แบบส่วนในของหินฐานทวีป เป็นส่วนน้อย บ่งบอกถึงลักษณะธรณีวิทยาแปรสัณฐานแบบ แนวเกาะ โค้ง หรือ แอ่งหน้าแนวภูเขาไฟ และการเปิดออกของขอบแผ่นทวีป ธรณีวิทยาโครงสร้างในหินแปรที่แปรสภาพมาจากหินตะกอน สามารถแบ่งทิศทางของหน่วย แรงหลัก (σ1, σ2, และ σ3) ได้สองทิศทางคือ (1)หน่วยแรงหลักที่ได้จากหินแปรที่แปรสภาพมาจาก หินเชิร์ตได้แก่ 57/255, 24/028, และ 22/128 ตามลา ดับ (2) หน่วยแรงหลักที่ได้จากหินแปรที่แปร สภาพมาจากหินตะกอนเนื้อละเอียด19/100, 8/192, และ 70/304 ตามลา ดับ ซึ่งทิศทางของหน่วยแรงที่ มากที่สุดทา มุมเกือบตรงข้ามกัน (180°) ซึ่งสัมพันธ์กับแนวรอยต่อของหน่วยหิน A และ C กับ แนว รอยต่อของหน่วยหิน A และ D ที่เป็นรอยเลื่อนย้อนที่มีทิศทางตรงกันข้ามกัน จากการศกึ ษาธรณี โครงสร้างในหินโผล่และภายใต้กล้องจุลทรรศนโ์ พลาไรซิง สามารถจา แนกเหตุการณ์การแปรสภาพ ได้สองเหตุการณ์ คือ การแปรสภาพครั้งที่ 1 (D1) แสดงในการเรียงชั้นของแร่ หรือ ริ้วขนาน (S1) และ การแปรสภาพครั้งที่ 2 (D2) แสดงในการคดโค้งของริ้วขนานและแนวแตกเรียบแบบไม่ต่อเนื่องแบบ โซนอ การศึกษาแร่วิทยาของหินแปรสองชนิดคือ หินแปรที่แปรสภาพมาจากหินเชิร์ต และหินแปร ที่แปรสภาพมาจากหินอัคนีสีเข้ม สามารถแบ่งกลุ่มแร่ได้เป็น albite + quartz + piemontite + epidote + muscovite + hematite + magnetite ±stilpnomelane และ magnesite + quartz + H2O ตามลา ดับ ซึ่ง หินแปรที่แปรสภาพมาจากหินเชิร์ตมีอุณหภูมิที่ 363 – 422 °C และความดันที่ 6.4 ± 0.4 กิโลบาร์ และ หินแปรที่แปรสภาพมาจากหินอัคนีสีเข้มมีอุณหภูมิที่ 200 – 325 °C และความดันที่ 1 กิโลบาร์ จาก อุณหภูมิและความดันข้างต้นบ่งบอกถึงการแปรสภาพแบบความดันสูงอุณหภูมิต่า ถึงปานกลางซึ่งจัด อยใู่ นชุดลักษณ์การแปรสภาพแบบกรีนชีสต์ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590531099 ถิคงพงษ์ ต๊ะตา.pdf | 25.09 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.