Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69495
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Assistant Professor Dr. Burapha Phajuy | - |
dc.contributor.author | Srett Santitharangkun | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-11T02:24:20Z | - |
dc.date.available | 2020-08-11T02:24:20Z | - |
dc.date.issued | 2020-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69495 | - |
dc.description.abstract | The igneous rocks from the Bokeo and Luong Namtha provinces, northwestern Lao PDR are important for constraining the tectonic evolution of the Paleo-Tethys ocean. The investigated area belongs to the Sukhothai zone which is also known as Eastern Granitoid Belt in Thailand and is linked to the Lancangjiang zone in southwestern China. The intrusive rocks in the study area can be separated into two main groups based on geochemical composition: (1) gabbro to diorite group and (2) granitoid group (1) The gabbro-diorite group can be further divided into three subgroups: (I) gabbro dike, (II) gabbro pluton, and (III) diorite suites. The mineral assemblage of the gabbro dike suite was plagioclase + clinopyroxene + opaque mineral. It was described by an ophitic texture with fine grained crystals. It was a slightly enriched in LILEs and LREEs and slightly depleted in HFSEs. The geochemical characteristics of the gabbro dike suite represent a magma derived from a depleted continental lithospheric mantle with contamination from subduction components. The gabbro pluton and diorite suite yielded a zircon U–Pb age of 232.2 ± 3.1 Ma which is related to post-collision after the closure of the Paleo-Tethys. The typical mineral assemblage of the gabbro pluton and diorite suites were plagioclase + clinopyroxene + hornblende ± orthopyroxene ± quartz ± biotite + opaque mineral ± apatite. The gabbro pluton and diorite suites were illustrated by a seriate texture with zoned plagioclase and sieve-textured amphibole. Small quantities of clinopyroxene and orthopyroxene were also discovered as tiny subhedral crystals with amphibole rims. In the chondrite normalized diagram, no noticeable negative Eu anomaly is observable suggesting that plagioclase fractionation did not occur. The primitive mantle normalized diagram proved Nb and Ta negative anomalies. They are enriched in LILEs, depleted in HFSEs, have a high Th/Nb ratio. The gabbro pluton and diorite suites represent melts derived from a subduction setting. Furthermore, CaO/Al2O3, La/Ta, and La/Nb ratio indicate lithospheric mantle source. However, the various chondrite normalized pattern and the value of some trace elements indicate heterogeneous melting of the peridotite source. They can be divided into gabbro-diorite I and gabbro-diorite II. The gabbro-diorite I was enriched in LREEs and depleted in HREEs compared to the gabbro-diorite II. The geochemical data and trace element modeling suggest that the melt source of the gabbro-diorite I and gabbro-diorite II are garnet-spinel and spinel peridotite, respectively. The melt composition of gabbro-diorite I and gabbro-diorite II indicated 10% mixing between primitive mantle and slab-derived component (fmelt=0.10) and 20% mixing between depleted mantle and slab-derived component (fmelt=0.10), respectively. The AFC model of the gabbro-diorite I (fcry = 0.60-0.10) and II (fcry = 0.40-0.10) suites indicate assimilation fractional crystallization evidence in rock samples. Trace element and REEs pattern of fmix = 0.60-0.10 mixing modeling suggested magma mixing between gabbro-diorite I and alkaline-rich granitoid. (2) The granitoid group can be classified as (I) alkaline-rich granitoid (Potassium feldspar rich-granitoid suite), (II) alkaline -poor granitoid (Potassium feldspar poor-granitoid suite), and (III) cordierite bearing granitoid suite.The alkaline-rich granitoid sample from Bokeo and Luong Namtha provinces yields a zircon U–Pb age of 231.0 ± 3.1 Ma. The samples contained the mineral assemblage quartz + plagioclase + K-feldspar + biotite ± opaque mineral ± apatite ± zircon ± allanite. They exhibited a seriate texture, perthitic potassium feldspar grains, and zoned plagioclase. Major elements are typical for calc-alkaline granitoids. Most of the alkaline-rich granitoid samples display a well developed negative Eu anomaly which indicates plagioclase crystal fractionation. The rock samples typically illustrated a wide range in Rb/Sr, CaO + MgO + FeOt + TiO2, and Al2O3 +MgO +FeOt+TiO2. These points display partial melting of juvenile basic lower crust mixed with a greywacke source. The alkaline-poor granitoid suite yielded a zircon U–Pb age of 250.8 ± 3.4 Ma, implying that these rocks were generated in a magmatic arc system during the Early Triassic. The alkaline-poor granitoid suite did not display a negative Eu anomaly suggesting no plagioclase crystal fractionation. The samples had a narrow range of Rb/Sr, CaO + MgO + FeOt + TiO2, and Al2O3 +MgO +FeOt+TiO2, high ratio of LaN/YbN, and Mg# indicating melting of a metabasaltic or eclogitic source. Thus, the alkaline-poor granitoid suite is associated with high-pressure melting where garnet remains in the metabasaltic source as refractory phase. The cordierite bearing granitoid suite yielded a zircon U–Pb age of 244.4 ± 3.2 Ma. The cordierite bearing granitoid suite had as a distinctive feature cordierite crystal as a phase. The cordierite bearing granitoid suite displayed a narrow range in CaO/Na2O and a high LaN/YbN ratio. In diagram CaO + MgO + FeOt + TiO2 vs. CaO/(MgO + FeOt + TiO2) and Al2O3 +MgO +FeOt+TiO2 vs. Al2O3 /(MgO +FeOt+TiO2), nearly all of the samples plot into the field of an amphibolitic source. The petrological, geochemical and geochronological results of this study suggest that the alkaline-poor and cordierite bearing granitoid suite rocks from Bokeo and Luong Namtha provinces represent mainly a volcanic arc setting during Early Triassic. The gabbro pluton- diorite and alkaline-rich granitoid suites may be related to a post-collision event following the closure of the Paleo-Tethys during Late Triassic. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Age Dating and Geochemistry of Intrusive Igneous Rocks in Bokeo and Luong Namtha Provinces, Lao PDR | en_US |
dc.title.alternative | การหาอายุ และธรณีเคมีของหินอัคนีแทรกซอนบริเวณแขวงบ่อแก้ว และ หลวงน้ำทา ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | หินอัคนีแทรกซอนบริเวณจังหวัดบ่อแก้วและจังหวัดหลวงน้ำทาทางตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวคือชุดหินที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากวิวัฒนาการและการปิดตัวของมหาสมุทรพาลิโอเททิส ในบริเวณพื้นที่ศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของแนวหินอัคนีสุโขทัยหรือรู้จักในชื่อว่าแนวหินอัคนีแกรนิตอยด์แนวตะวันออกในประเทศไทย และยังเป็นส่วนหนึ่งของแนวหินอัคนีหลานชางเจียง ตั้งอยู่บริเวณทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน โดยหินในบริเวณพื้นที่ศึกษาสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มแกบโบร-ไดออไรต์ และกลุ่มแกรนิตอยด์ (1) จากกลุ่มแกบโบร-ไดออไรต์สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ (I) ชุดหินพนังหินแกบโบร (II) ชุดหินอัคนีแทรกซอนแกบโบร และ (III) ชุดหินไดออไรต์ สำหรับแร่ประกอบหินของชุดหินพนังหินแกบโบรประกอบไปด้วย แพลจิโอเคลส ไคลโนไพรอกซีน และแร่ทึบแสง โดยหินตัวอย่างแสดงลักษณะของผลึกขนาดเล็กและแสดงลักษณะของโอฟิติก มากไปกว่านั้นหินตัวอย่างอุดมไปด้วยธาตุไอออนขนาดใหญ่ แต่ค่อนข้างพร่องไปด้วยธาตุที่มีไอออนขนาดเล็ก อัตราส่วนระหว่าง CaO/Al2O3, La/Ta, La/Nb, Zr/Nb และ Th/Y นอกจากนี้หลักฐานทางธรณีเคมีดังกล่าวยังบ่งชี้ว่าชุดหินพนังหินแกบโบรเกิดจากการหลอมตัวของฐานธรณีภาคและมีหลักฐานของการปนเปื้อนทางเคมีของแผ่นเปลือกโลกเล็กน้อย การหาอายุด้วยยูเรเนียม-ตะกั่ว ในแร่เซอร์คอน ชุดหินอัคนีแทรกซอนแกบโบร และชุดหินไดออไรต์มีอายุอยู่ที่ 232.2 ± 3.1 ล้านปี ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการแปรธรณีสัณฐานแบบหลังการปิดตัวของมหาสมุทรพาลิโอเททิส แร่ประกอบของหินทั้งสองชุดนี้ประกอบไปด้วย แพลจิโอเคลส ไคลโนไพรอกซีน ออร์โทรไพรอกซีน ฮอร์นเบลนด์ ควอตซ์ ไบโอไทต์ แร่ทึบแสง และอะพาไทต์ ลักษณะทางศิลาวรรณาของหินชุดดังกล่าวแสดงผลึกสองขนาด แพลจิโอเคลสแสดงแบบอย่างโซน และแร่ฮอร์นเบลนด์มีรูปร่างไม่ชัดเจน แร่ไคลโนไพรอกซีน และออร์โทรไพรอกซีนถูกพบเป็นผลึกขนาดเล็ก และมีแร่ฮอร์นเบลนด์ตกผลึกขอบของผลึกในแผนภูมิคอนไดรต์ ธาตุยูโรเพียมไม่แสดงลักษณะการพร่องซึ่งบ่งบอกถึงการไม่ตกผลึกแยกส่วนของแร่แพลจิโอเคลส ชุดหินอัคนีแทรกซอนแกบโบร และชุดหินไดออไรต์มีความอุดมไปด้วยธาตุไอออนขนาดใหญ่ แต่พร่องไปด้วยธาตุที่มีไอออนขนาดเล็ก มีอัตราส่วนของ Th/Nb สูง และอัตราส่วน CaO/Al2O3, La/Ta, La/Nb แสดงหลักฐานทางเคมีบ่งบอกถึงหินต้นกำเนิดของหินชุดนี้เกิดจากการแปรเปลี่ยนของแผ่นธรณีภาคจากการรับธาตุระเหยและแร่ธาตุต่าง ๆจากแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร อย่างไรก็ตามลักษณะในแผนภูมิคอนไดรต์แสดงลักษณะแตกต่างกันบ่งบอกความต่างกันของส่วนประกอบของชั้นเนื้อโลก หินตัวอย่างชุดนี้สามารถแบ่งย่อยได้เป็น แกบโบร-ไดออไรต์ I และ แกบโบร-ไดออไรต์ II โดยที่แกบโบร-ไดออไรต์ I มีความอุดมไปด้วยโลหะหายากชนิดเบามากกว่ากลุ่มย่อยแกบโบร-ไดออไรต์ II จากการสร้างแบบจำลองทางธรณีเคมีพบว่าแกบโบร-ไดออไรต์ I และ II เกิดจาการหลอมของหินเพริโดไทต์ชนิดการ์เนต์-สปิเนล และสปิเนล ตามลำดับ โดยโมเดลของแกบโบร-ไดออไรต์ I ใช้การหลอมจากส่วนประกอบของชั้นเนื้อโลกเริ่มแรกที่ผสมส่วนประกอบของแผ่นเปลือกเลือกมหาสมุทร 10% (fmelt=0.10) ในส่วนของ แกบโบร-ไดออไรต์ II ใช้การหลอมจากส่วนประกอบของชั้นเนื้อโลกพร่องที่ผสมส่วนประกอบของแผ่นเปลือกเลือกมหาสมุทร 10% (fmelt=0.10) โมเดลการปนเปื้อนและการตกผลึกแยกส่วนของกลุ่มหินย่อยแกบโบร-ไดออไรต์ I (fcry = 0.60-0.10) และ II (fcry = 0.40-0.10 fcry = 0.40-0.10) บ่งบอกหลักฐานการปนเปื้อนและการตกผลึกแยกส่วนของหินตัวอย่าง นอกจากนี้ส่วนประกอบของธาตุร่องรอยและโลหะหายากที่มีค่า fm = 0.60-0.10 ยืนยันการผสมกันระหว่างแมกมาของกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่อุดมไปด้วยแอลคาไลน์ (2) กลุ่มหินแกรนิตอยด์ ได้แก่กลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่อุดมไปด้วยแอลคาไลน์ (หินแกรนิตอยด์ที่อุดมไปด้วยโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์) กลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบด้วยแอลคาไลน์น้อย (หินแกรนิตอยด์ที่พบโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์น้อย) และกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบไปด้วยแร่คอร์เดียไรต์ ตัวอย่างหินแกรนิตอยด์ที่อุดมแอลคาไลน์จากจังหวัดบ่อแก้วและหลวงน้ำทานั้นให้อายุยูเรเนียม-ตะกั่วในแร่เซอร์คอนที่ 231.0 ± 3.1 ล้านปี หินตัวอย่างนี้ประกอบไปด้วยแร่ โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ แพลจิโอเคลส ควอตซ์ ไบโอไทต์ อะพาไทต์ เซอร์คอน อาลาไนต์ และแร่ทึบแสง เนื้อหินแสดงลักษณะผลึกสองขนาด แร่แพลจิโอเคลสแสดงแบบอย่างโซนและโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์แสดงเนื้อแบบเพอร์ทิติก ส่วนประกอบทางเคมีของหินแกรนิตอยด์ที่หินตัวอย่างโดยส่วนใหญ่แสดงความผิดปกติเชิงลบของธาตุยูโรเพียมซึ่งบ่งชี้ว่ามีการตกผลึกแยกส่วนของแร่แพลจิโอเคลส ตัวอย่างหินมักแสดงให้เห็นถึงค่าที่กว้างของ Rb / Sr, CaO + MgO + FeOt + TiO2 และ Al2O3 + MgO + FeOt + TiO2 หลักฐานนี้บอกถึงการหลอมบางส่วนของแผ่นเปลือกโลกตอนล่างที่มีส่วนประกอบคล้ายหินบะซอลต์ผสมกับหินเกรย์แวก ในส่วนของกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบด้วยแอลคาไลน์น้อย นั้นให้อายุยูเรเนียม-ตะกั่ว ในแร่เซอร์คอนที่ 250.8 ± 3.4 ล้านปี ซึ่งเป็นช่วงเวลาการเกิดขึ้นของแนวภูเขาไฟในแนวหินอัคนีสุโขทัย ชุดหินแกรนิตอยด์นี้ไม่พบความผิดปกติของธาตุยูโรเพียม จากข้างต้นสะท้อนว่าไม่มีการตกผลึกแยกของแร่แพลจิโอเคลสเกิดขึ้น ที่สำคัญในหินตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นถึงช่วงแคบ ๆ ของ Rb / Sr, CaO + MgO + FeOt + TiO2 และ Al2O3 + MgO + FeOt + TiO2 หรืออัตราส่วน LaN / YbN มีค่าสูง และ Mg# มีค่าใกล้เคียงรูปแบบการหลอมละลายของหินเอโคลไจต์ ดังนั้นชุดหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบด้วยแอลคาไลน์น้อยจะเชื่อมโยงกับการหลอมละลายที่ความดันสูงซึ่งแร่การ์เนตยังคงหลงเหลืออยู่ในหินต้นกำเนิด ชุดแกรนิตอย์ที่ประกอบไปด้วยแร่คอร์เดียไรต์นั้นให้อายุ ยูเรเนียม-ตะกั่ว ในแร่เซอร์คอนที่ 244.4 ± 3.2 ล้านปี ชุดหินแกรนิตอยด์ ที่ประกอบไปด้วยแร่คอร์เดียไรต์ มีคุณสมบัติที่โดดเด่นคือพบแร่คอร์เดียไรต์ เป็นส่วนประกอบ หินแกรนิตอยด์ที่ประกอบไปด้วยแร่คอร์เดียไรต์ แสดงช่วงแคบ ๆ ของ CaO / Na2O และอัตราส่วน LaN / YbN สูง ในไดอะแกรม CaO + MgO + FeOt + TiO2 เทียบกับ CaO / (MgO + FeOt + TiO2) และ Al2O3 + MgO + FeOt + TiO2 เทียบกับ Al2O3 / (MgO + FeOt + TiO2) ทั้งหมดเข้าใกล้พื้นที่ของแอมฟิโบไลต์ และข้อมูลดังกล่าวให้เห็นถึงการหลอมละลายบางส่วนของหินเมตาบะซอลต์ด้วยความที่ดันสูงมาก ผลจากการศิลาวรรณา ธรณีเคมี และการหาอายุเบื้องต้นของการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มหินย่อยกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบด้วยแอลคาไลน์น้อย และกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่ประกอบไปด้วยแร่คอร์เดียไรต์จากจังหวัดบ่อแก้วและหลวงน้ำทานั้น มีความสัมพันธ์กับการเกิดแนวภูเขาไฟในช่วงต้นของยุคไทรแอสสิก ในส่วนของกลุ่มหินย่อยแกรนิตอยด์ที่อุดมไปด้วยแอลคาไลน์ และกลุ่มหินแกรบโบร-ไดออไรต์เกิดจากการปะทะกันภายหลังจากการปิดตัวของมหาสมุทรพาลิโอเททิส ในช่วงปลายของยุคไทรแอ-สสิก | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600531134 เศรษฐ์ สันติธรางกูร.pdf | 20.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.