Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร.เดชา ปิ่นแก้ว-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ศิรินันท์ บริพันธกุล-
dc.contributor.authorชัญญา เอื้อวัฒนาศิริกุลen_US
dc.date.accessioned2020-08-11T02:23:52Z-
dc.date.available2020-08-11T02:23:52Z-
dc.date.issued2020-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69494-
dc.description.abstractThoracic kyphosis is the result in restrictive and obstructive ventilation which lead to dyspnea and exercise intolerance and may cause of decreased activity of daily living in the elderly. The aim of this study was to evaluate thoracic kyphosis measured by flexicurve in relation to pulmonary function in elderly. Sixty-six elderly participants aged 6 5 years and older were recruited into the study. Interested participants were all received basic health screening and underwent thoracic kyphosis measurements using flexicurve method. All subjects who were met criteria participated in this study that were taken 3 testing: lung function tests by using spirometer, respiratory muscle strength by using maximal voluntary respiratory pressures and 6-Minute Walk Test. Pearson’s correlation coefficient was used to analyze the relationships between variables. Results showed that thoracic kyphosis was mild positive correlated with lung functions in FEV1, FVC and VC parameters (r=0.303, 0.265 and 0.322, respectively, p<0.05) but not with FEV1/FVC ratio (%) (p>0.05). There was no correlation between thoracic kyphosis and respiratory muscle strength (MIP and MEP), and also 6-minute walk distance (p>0.05). These results suggested that thoracic kyphosis as measured by the flexicurve method had mild positive correlation with lung functions. This method may provide a trend to predict lung function associated with thoracic kyphosis. Further study is warranty.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะกระดูกสันหลังค่อมระดับอกและ การทำงานของปอดในผู้สูงอายุen_US
dc.title.alternativeCorrelation Between Thoracic Kyphosis and Pulmonary Function in Elderlyen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะกระดูกสันหลังค่อมระดับอกพบว่าเป็นความผิดปกติที่พบมากในผู้สูงอายุ ส่งผลต่อการ จำกัดการขยายตัวของปอด และเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ทำให้อาจมีอาการหอบเหนื่อย และความ ทนทานในการออกกำลังกายลดลง ส่งผลให้เกิดการลดลงของความทนทานในการทำกิจวัตรประจำวัน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะกระดูกสันหลังค่อมระดับอกกับ การทา งานของปอดในผู้สูงอายุ ผู้เข้าร่วมการศึกษาจา นวน 66 คน ได้รับการประเมินภาวะกระดูกสัน หลังค่อมระดับอกด้วยวิธีการประเมินโดยใช้ไม้บรรทัดโค้ง (flexicurve) หลังจากนั้นได้รับการ ประเมิน 3 ฐาน ได้แก่ การตรวจสมรรถภาพปอด การประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ และ การทดสอบการเดิน 6 นาที วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยใช้สถิติ Pearson’s correlation coefficient ผลการศึกษาพบว่าภาวะกระดูกสันหลังค่อมระดับอกมีความสัมพันธ์อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติเชิงบวกในระดับต่า กบั สมรรถภาพปอดในตัวแปร FVC, FEV1 และ VC (r=0.265, 0.303 และ 0.322 ตามลาดับ, p<0.05) แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับตัวแปร FEV1/FVC ratio (%) (p>0.05) อีกทั้งพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ (MIP และ MEP) และระยะทางที่ เดินได้ใน 6 นาที (6-minute walk distance) (p>0.05) สรุปได้ว่าผู้สูงอายุสุขภาพดีที่มีภาวะกระดูกสัน หลังค่อมระดับอกจากการประเมินความโค้งของกระดูกสันหลังด้วยวิธี flexicurve มีความสัมพันธ์เชิง บวกในระดับต่ำ กับสมรรถภาพปอด โดยการศึกษาในครั้งนี้เป็นประโยชน์สาหรับการประเมิน สมรรถภาพปอดหรือเฝ้าระวังภาวะกระดูกสันหลังค่อมระดับอกในผู้สูงอายุต่อไปen_US
Appears in Collections:AMS: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.