Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect. Dr. Woraphon Yamaka-
dc.contributor.advisorProf. Dr. Songsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Nachatchapong Kaewsompong-
dc.contributor.authorChonrada Nuntien_US
dc.date.accessioned2020-08-11T02:22:11Z-
dc.date.available2020-08-11T02:22:11Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69491-
dc.description.abstractRice is the main product of agriculture in Thailand. Besides, rice production relates to the Thai standard of living because most of Thai workers are farmers. In this thesis, we study Thailand's rice market and production efficiency which consists of three motivations. The first one is to study the Thai rice export market by focusing on the factors that influence the demand and supply of Thai rice exports. Furthermore, we consider the social welfare resulting from Thai rice exports with the copula-based simultaneous ECM approach. The results indicate that the aggregated GDP of importing countries has a positive impact on Thai rice exports. Meanwhile, Thai rice exports expected price and the Thai exchange rate have negative effects on Thai rice exports. The interesting finding of this paper is that most welfare benefits of rice trade have belonged to importing countries. The second motivation is to measure the technical efficiency of Thailand’s rice production by employing SFM based on the copula model. The empirical outcomes show that there is a positive and significant effect on rice production created by land labor and fertilizer. Moreover, the northern region has the largest average TE score. Another interesting issue focuses on the biggest difference between the lowest and highest TE scores for each region. The largest gap of TE score belongs to the central region. The difference of TE in each province is a key point to further investigate the factors of these differences. The province with the lowest TE score should be the first priority to be emphasized on urgent development. The third motivation is to analyze the factors that affect the inefficiency of Thai rice production, we apply the efficiency effects with a copula-based spatial panel SFM model. Only land variable and labor variable have a positive and significant impact on rice output. The interesting point is that although the highest TE scores belong to the central region, the difference between the lowest score and the highest score also belongs to the central regionen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnalysis of Thailand's Rice Market and Production Efficiencyen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ตลาดและประสิทธิภาพการผลิตข้าวไทยen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractข้าวเป็นผลผลิตหลักของการเกษตรในประเทศไทย นอกจากนี้การผลิตข้าวยังเกี่ยวข้องกับมาตรฐาน ความเป็นอยู่ของคนไทยเนื่องจากแรงงานไทยส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ในวิทยานิพนธ์นี้เราศึกษาตลาด ข้าวไทยและประสิทธิภาพการผลิตข้าว ซึ่งประกอบด้วยแรงจูงใจสามประการ สิ่งแรกคือการศึกษา ตลาดส่งออกข้าวไทยโดยเน้นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์และอุปทานของการส่งออกข้าวไทย นอกจากนี้เรายังพิจารณาสวัสดิการสังคมที่เกิดจากการส่งออกข้าวของไทยด้วยแบบจา ลองสมการ ปรับตัวระยะสั้นหลายชั้นภายใต้คอปูลา ผลการศึกษาพบว่ารายได้ประชาชาติของประเทศผู้นา เข้ามี ผลกระทบเชิงบวกต่อการส่งออกข้าวไทย ในขณะที่ราคาส่งออกคาดการณ์และอัตราแลกเปลี่ยนของ ไทยมีผลกระทบเชิงลบต่อการส่งออกข้าวไทย การค้นพบที่น่าสนใจของหัวข้อนี้คือประโยชน์ส่วน ใหญ่ของการค้าข้าวเป็นของประเทศผู้นา เข้า แรงจูงใจที่สองคือการวัดประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตข้าวของประเทศไทยโดยการใช้ แบบจา ลองเส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มภายใต้คอปูลา ผลลัพธ์เชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าแรงงาน ที่ดิน และปุ๋ยมีผลกระทบเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญต่อการผลิตข้าว นอกจากนี้ภาคเหนือยังมีคะแนน ประสิทธิภาพทางเทคนิคโดยเฉลี่ยสูงสุด อีกประเด็นที่น่าสนใจพบความแตกต่างที่มากที่สุดระหว่าง คะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคที่ต่า สุดและสูงสุดของแต่ละภูมิภาค ช่องว่างที่มากที่สุดของคะแนน ประสิทธิภาพทางเทคนิคเป็นของภาคกลาง ความแตกต่างของประสิทธิภาพทางเทคนิคในแต่ละ จังหวัดเป็นจุดสา คัญในการตรวจสอบปัจจัยความแตกต่างเหล่านี้ จังหวัดที่มีคะแนนประสิทธิภาพทาง เทคนิคต่า ที่สุดควรเป็นจังหวัดที่ต้องให้ความสา คัญเป็นอันดับแรกในการพัฒนาอย่างเร่งด่วน แรงจูงใจประการที่สามคือการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความไร้ประสิทธิภาพของการผลิตข้าวไทย โดยใช้แบบจาลองพาเเนลเส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มเชิงพื้นที่ภายใต้คอปูลา ผลการศึกษาพบว่า เฉพาะตัวแปรที่ดินและตัวแปรแรงงานเท่านั้นที่มีผลกระทบเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญต่อผลผลิตข้าว ประเด็นที่น่าสนใจคือแม้ว่าคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคที่สูงสุดจะเป็นของภาคกลาง แต่ความ แตกต่างระหว่างคะแนนต่า สุดและคะแนนต่า สุดก็เป็นของภาคกลางด้วยen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591655903 ชลระดา หนันติ๊.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.