Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProf. Dr. Songsak Sriboonchitta-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Chukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Pathairat Pastpipatkul-
dc.contributor.authorJittima Singvejsakulen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:36:37Z-
dc.date.available2020-08-10T01:36:37Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69484-
dc.description.abstractStock markets are one among the most influential forms of physical economy in the today’s world. They play a prominent role in all economies because many kinds of investors, including financial institutions invest in financial markets. This entails risk or volatility of returns, and these which are among the most important factors in portfolio or risk management. Volatility across stock markets around the world is linked to the behavior of investment decisions and behavior of investment made by investors. The study of the variance, covariance and correlations in stock market indexes is a useful means of providing information to investors seeking to efficiently build and maintain their portfolios over time. To accomplish their intention that end, some specific tools such as market models and based on historical data are needed required. This thesis proposes the use of financial econometrics which is the multivariate of returns and volatilities models to find the volatility and dependency of behavior in investment and financial data. The major contribution of this thesis is that it proposes and compares appropriate financial econometric models employing multivariate GARCH, comprising DVECH-GARCH, BEKK-GARCH, CC-GARCH, DCC-GARCH, VARMA GARCH, and VARMA AGARCH models. In particular, the study notes that the C-vine copula based ARGARCH model employing one-step estimation allows greater flexibility in accommodating joint distributions since a copula with two-step estimation may fail to efficiently capture the parameters of an AR GARCH model, which are assumed to be independent in two-step estimation, but is dependent in one-step estimation, and can thus be used to predict the volatilities of returns in the stock markets. Hence, the study examined the performance of various competing financial econometric models, which could be empirically applied to stock market data from around the world. The thesis adopted as case studies three important groups of stock markets around the world comprised of 1) the ASEAN stock market group 2) the BRICS stock market group and 3) the world stock market group which consist two groups of countries and three main stock markets in the world as a proxy for the returns during the period, 2008 to 2019. Each segment is carried out through the financial econometric models which stated above. Consequently, the study concluded that the C-vine copula is the most suitable model among these models investigated, for estimating the return, volatility and dependency of the stock markets, since the results show that the C-Vine copula-based AR-GARCH model with one step estimation outperform the existing multivariate returns and volatilities models based on the lowest value of model selection. In the first group studied, the volatilities and linkages between the stock markets of five ASEAN countries (Thailand, the Philippines, Indonesia, Malaysia and Singapore) were diagnosed using a C-Vine copula-based AR (3)-GARCH model with Frank copulas through one-step estimation. The empirical findings reveal that volatility in any period in these countries’ markets was significantly influenced by events occurring in previous periods which Thailand and the Philippines have highest volatility in term of ARCH and GARCH terms, respectively. Moreover, Thailand’s highly integrated investment showed significant linkage of the Philippines, and this has become much stronger than the other economies. Therefore, the stock market of the Philippines is one to which investors in Thailand should pay special attention in terms of its risk and stability, in order to avoid the potential for asymmetric risk caused by the spillover effect between the two markets. It was notable however, that the correlation between Malaysia and Singapore was the lowest among the ASEAN countries and their respective governments should endeavor to encourage a closer investment relationship between these two countries.The second group of stock markets studied was the BRICS group consisting of Brazil, Russia, India, China and South Africa and data relating to the stock indexes of those nations were used to explore the volatilities and relationships among them using a C-Vine copula-based AR (1)-GARCH model with Frank copulas. The empirical results showed that the estimation results obtained from the one-lagged AR model of stock market returns based on the stock market indexes for the five countries, was able to predict the current index values as well as the volatility of those indexes, showing how past information can cause volatility in the current level of stock market indexes. In respect of the dependencies traced among these five countries, it was found that Brazil is highly correlated with China, which is currently one of the markets with the highest potential for growth in the world. Meanwhile, the correlation between India and South Africa was the smallest and the governments of these two countries should provide incentives to encourage the development of investment linkage between them. Furthermore, the investors who are risk averters can divide their investment into these two countries in order to avoid some risk or big losses that may happen in one of these stock markets. The final group studied consisted of the world stock market group with the volatility and dependence structure being identified based on the correlations between three national stock markets (the US, Japanese and Chinese) and two regionally grouped stock markets (European and ASEAN) using the C-Vine copula-based AR (1)-GARCH model with a mixture of student-t and Frank copulas through one-step estimation. The results showed that the parameters of the mean and variance model of marginal distribution provided either definitive or very strong evidence that past events have an influence on market behavior in a current period in terms of both returns and volatility. Furthermore, the investigation of the dependence structure showed that among the five markets studied, the USA and Europe had the strongest relationship, due to the fact that the USA and Europe are advanced economies and powerful countries. Therefore, information about the policies of developed countries and negative events occurring in them is crucial for investors in planning their investments and for policymakers to improve the policies they adopt because the advanced economy is the more spillover effect it likely to produce across the global economy since these two countries are the leader in the global stock market.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleModeling Multivariate Returns and Volatilities of Three Important Groups of Stock Indices in the World Stock Marketsen_US
dc.title.alternativeการจาลองแบบผลตอบแทนและความผันผวนพหุตัวแปร ของดัชนีสามกลุ่มสา คัญในตลาดหุ้นโลกen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractตลาดหลักทรัพย์เป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเศรษฐกิจในโลกมากที่สุดและมีบทบาทที่โดดเด่นต่อ ทุกเศรษฐกิจ เพราะ นักลงทุนหลายประเภท รวมถึง สภาบันการเงินได้ลงทุนในตลาดการเงิน สิ่งนี้ นามาซึ่งความเสี่ยงหรือความผันผวนของผลตอบแทนและเป็นหนึ่งในปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการ ลงทุนหรือการบริหารความเสี่ยง ความผันผวนของตลาดหุ้นทั่วโลกนั้นเชื่อมโยงกันด้วยพฤติกรรม การตัดสินใจและการลงทุนของนักลงทุน การศึกษาความแปรปรวน ความแปรปรวนร่วมและ ความสัมพันธ์ในดัชนีตลาดหุ้นเป็นวิธีการให้ข้อมูลและมีประโยชน์สา หรับพอร์ตการลงทุนของนัก ลงทุนและรักษาพอร์ตการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพตลอดเวลา และเพื่อให้บรรลุความตั้งใจนี้ เครื่องมือเฉพาะบางอย่าง อย่างเช่น แบบจา ลองและข้อมูลในอดีตมีความจา เป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นใน วิทยานิพนธ์นี้จึงนา เสนอการใช้แบบจา ลองทางเศรษฐมิติทางการเงินซึ่งเป็นแบบจา ลองผลตอบแทน และความผันผวนพหุตัวแปรเพอื่ หาความผันผวนและการพึ่งพากันของพฤติกรรมในการลงทุนรวมถึง ข้อมูลทางการเงิน การศึกษาที่สา คัญของวิทยานิพนธ์นี้มุ่งที่จะนา เสนอแบบจา ลองเศรษฐมิติทางการเงินที่เหมาะสมโดย ใช้แบบจา ลอง การ์ชแบบหลายตัวแปร ซึ่งประกอบด้วย ดีเวกช์ การ์ช, เบก การ์ช, ซีซี การ์ช, ดีซีซี การ์ช, วามาร์ การ์ช, วามาร์ เอการ์ช โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบจา ลอง ซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ การ์ช ที่ใช้การประมาณแบบขั้นตอนเดียวซึ่งช่วยให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้นในการทา การแจกแจงร่วม เนื่องจาก แบบจา ลอง ซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ การ์ช ที่ใช้การประมาณสองขั้นตอนนั้นอาจไม่ สามารถประมาณการค่าพารามิเตอร์ของแบบจา ลองใน เออาร์ การ์ชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ ได้รับการสมมุติให้เป็นอิสระในการประมาณการในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ในขณะที่การประมาณแบบ ขั้นตอนเดียวมีความเกี่ยวข้องกันและสามารถใช้ในการทา นายความผันผวนของผลตอบแทนในตลาดหุ้น ดังนั้นการศึกษานี้ได้ศึกษาประสิทธิภาพของวิธีการประมาณค่าความผันผวนต่าง ๆ และการสร้าง แบบจา ลองเศรษฐมิติทางการเงินซึ่งสามารถนา ไปใช้กับข้อมูลการลงทุนในตลาดหุ้นจากทั่วโลก กรณีศึกษาที่นามาใช้ในวิทยานิพนธ์ได้แบ่งออกเป็นสามกลุ่มตลาดหลักทรัพย์สาคัญในโลกนี้ ประกอบด้วย 1) กลุ่มตลาดหุ้นอาเซียน (ASEAN) 2) กลุ่มตลาดหุ้นบริกซ์ (BRICS) และ 3) กลุ่มตลาด หุ้นโลกซึ่งประกอบด้วยสองกลุ่ม ของประเทศและตลาดหลักทรัพย์ที่สาคัญสามแห่งในโลก จาก ผลตอบแทนของดัชนีหุ้นระหว่างปี 2008 ถึง 2019 โดยแต่ละหัวข้อได้มีการวิเคราะห์ผ่านแบบจา ลอง ทางเศรฐมิติการเงินที่กล่าวมาข้างต้น ผลการศึกษาสรุปว่าแบบจา ลอง ซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ การ์ช ด้วยการประมาณการแบบขั้นตอนเดียว เป็นแบบจา ลองที่เหมาะสมที่สุดในแบบจา ลองทั้งหมด ในการประมาณการผลตอบแทน ความผันผวนและการพึ่งพากันของตลาดหลักทรัพย์ เพราะ ผล การศึกษาพบว่าแบบจา ลอง ซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ การ์ช ด้วยการประมาณการแบบขั้นตอน เดียว มีประสิทธิภาพที่สูงกว่าแบบจา ลองผลตอบแทนและความผันผวนแบบพหุตัวแปรที่มีอยู่ โดย พิจารณาจากค่าต่า สุดของการเลือกแบบจา ลอง ในส่วนแรกคือการวิเคราะห์ความผันผวนและการเชื่อมโยงระหว่างตลาดหุ้นในกลุ่มประเทศอาเซียน สา หรับ 5 ประเทศ โดยใช้แบบจา ลอง ซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ ทรี การ์ช ด้วยการประมาณการ แบบขั้นตอนเดียวโดยตัวแปรที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยดัชนีตลาดหุ้นประเทศไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคโปร์ การค้นพบเชิงประจักษ์เผยว่าความผันผวนในประเทศเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบที่สา คัญในช่วงเวลาปัจจุบันมาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงก่อนหน้า โดยประเทศไทยและฟิลิปปินส์มีความผันผวนสูงสุดในด้านของ อาร์ช และ การ์ช ตามลาดับ นอกเหนือจากนี้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการลงทุนกับประเทศฟิลิปปินส์ที่สูง กว่าประเทศอื่นๆ ดังนั้นตลาดหุ้นของฟิลิปปินส์จึงเป็นสิ่งที่นักลงทุนในประเทศไทยควรให้ความ สนใจเป็นพิเศษในแง่ของความเสี่ยงและความมั่นคงเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่ไม่สมดุลซึ่งเกิดจาก ผลกระทบระหว่างสองตลาด อย่างไรก็ตามเป็นที่น่าสังเกตว่าความสัมพันธ์ระหว่างมาเลเซียกับ สิงคโปร์นั้นต่า ที่สุดในบรรดาประเทศในกลุ่มอาเซียนและรัฐบาลที่เกี่ยวข้องควรพยายามส่งเสริม ความสัมพันธ์การลงทุนที่ใกล้ชิดระหว่างสองประเทศนี้ ในส่วนที่สองคือการสา รวจความผันผวนและความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตลาดหุ้นในบริกซ์ BRICS ซึ่งประกอบด้วยดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศบราซิล, รัสเซีย, อินเดีย, จีนและแอฟริกาใต้ โดยใช้ แบบจาลองซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ วัน การ์ช ผลลัพธ์เชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่าผลการ ประมาณที่ได้จากแบบจา ลอง ออโต้รีเกรสซีฟ ของผลตอบแทนการลงทุนในตลาดหุ้นจากข้อมูลใน อดีตโดยอิงจากดัชนีตลาดหุ้นในห้าประเทศ สามารถทา นายค่าดัชนีปัจจุบันและความผันผวนของดัชนีเหล่านั้นได้ โดยแสดงให้เห็นว่าข้อมูลที่ผ่านมาในอดีตสามารถทา ให้เกิดความผันผวนในดัชนีตลาด หุ้นในปัจจุบันได้อย่างไร ในส่วนของการพึ่งพากันของตลาดหลักทรัพย์ในห้าประเทศนี้พบว่าบราซิล มีความสัมพันธ์กับจีนอย่างสูงซึ่งจีนได้กลายเป็นหนึ่งในตลาดที่มีศักยภาพสูงที่สุดในโลก ใน ขณะเดียวกันความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและแอฟริกาใต้นั้นมีค่าน้อยที่สุดและรัฐบาลของทั้งสอง ประเทศควรเพิ่มแรงจูงใจเพื่อส่งเสริมการพัฒนาความเชื่อมโยงการลงทุนระหว่างกัน นอกเหนือจากนี้ นักลงทุนผู้ที่หลีกเลี่ยงความเสี่ยงสามารถแบ่งการลงทุนของพวกเขาในสองประเทศนี้เพื่อที่จะ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงหรือความเสียหายจา นวนมากที่อาจเกิดขึ้นในแห่งใดแห่งหนึ่งของสองตลาด หลักทรัพย์นี้ ส่วนสุดท้ายเป็นการค้นหาความผันผวนของหลายตัวแปรและโครงสร้างการพึ่งพาอาศัยกันของกลุ่ม ตลาดหุ้นโลกซึ่งประกอบด้วยความสัมพันธ์ของสามประเทศ สหรัฐอเมริกาม ญี่ปุ่น และ จีน กับ สอง กลุ่มของประเทศในภูมิภาค ยุโรป และ อาเซียน โดยใช้แบบจา ลองซีไวน์ คอปูลา-ออโตรีเกรสซีฟ วัน การ์ช ด้วยการประมาณแบบขั้นตอนเดียว หลักฐานเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่า พารามิเตอร์ใน รูปแบบค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของการแจกแจงขั้นต้นมีความสา คัญทางสถิติโดยเหตุการณ์ใน อดีตมีอิทธิพลต่อปัจจุบันในแง่ของผลตอบแทนและความผันผวน นอกจากนี้จากการสารวจ โครงสร้างการพึ่งพากันพบว่าในบรรดาห้าตลาดที่ทาการศึกษา สหรัฐอเมริกาและยุโรปมี ความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งที่สุดเนื่องจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปเป็นประเทศเศรษฐกิจที่พัฒนาแล้ว และประเทศมหาอา นาจ ดังนั้นข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายและเหตุการณ์เชิงลบที่เกิดขึ้นในประเทศที่ พัฒนาแล้วเหล่านี้มีความสาคัญสาหรับนักลงทุนในการวางแผนการลงทุนและสาหรับผู้กาหนด นโยบายเพื่อปรับปรุงนโยบายที่ได้นา มาใช้เนื่องจากประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีผลกระทบที่เกิดขึ้นร หว่างเศรษฐกิจโลกมากกว่า เพราะสองประเทศนี้เป็นผู้นา ในตลาดทรัพย์โลกen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601655902 จิตติมา สิงห์เวชสกุล.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.