Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69483
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr.Suthida Chamrat | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr.Virapong Sang-Xuto | - |
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr.Kreetha Kaewkhong | - |
dc.contributor.author | Somsak Gathong | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-10T01:36:31Z | - |
dc.date.available | 2020-08-10T01:36:31Z | - |
dc.date.issued | 2020-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69483 | - |
dc.description.abstract | The research and development aimed 1) to survey the nature of science understanding of the students in Bachelor of Education Program, 2) to develop the instructional model based on Science, Technology, Society and Environment (STSE) perspectives with the emphasis of the empirical evidence of the student teachers, 3) to study the results of the instruction model application in constructing the student teachers’ understanding related to the nature of science, and 4) to develop and improve the instructional model based on Science, Technology, Society and Environment (STSE) perspectives the emphasis of the empirical evidence of the student teachers. The research methodology included 4 phases reflecting the research and development (R&D) as Phase 1: research is fundamental information analysis for the development of the instructional model with samples including 23 student teachers and 3 instruments for data collection i.e. Phase 1 is the research as the analysis of basic information for the instructional model development with 3 research instruments as 1) a survey on the nature of science understanding among the students 2) a form of content analysis, and 3) a questionnaire on environmental awareness the students and all of them were analyzed by content analysis, the index of Item Objective Congruence (IOC) assessment, mean and standard deviation. Phase 2 is the development of the instructional model with the target group of 1) 5 experts specializing in the instructional model validation to analyze data with the content analysis, the index of Item Objective Congruence (IOC) assessment, mean and standard deviation; and Phase 3 is the experimental application of the instructional model with 3 research instrument as 1) a survey on the nature of science understanding 2) a form of learning management plan analysis, and 3) a questionnaire on satisfaction towards the instructional model application. The data were analyzed by mean, standard deviation, Phase 3 is the experimental application of the instructional model with 3 research instrument as 1) a survey on the nature of science understanding 2) a form of learning management plan analysis, and 3) a questionnaire on satisfaction towards the instructional model application. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test, and Phase 4 is the evaluation and improvement of the instructional model. The findings can be concluded as follows; 1. The result of measuring the nature of science understanding was found that the student teachers understood the nature of science at a moderate level and scientific issues had the empirical evidence was at a low level. 2. The developed instruction model consisted of the principles, objectives, instructional processes, knowledge and skill, social system, the principles of response and support which having instructional process comprised of 6 steps as follows: Step 1: Engagement, Step 2: Exploration, Step 3: Evidence-based practice, Step 4: Reflection, Step 5: Implementation and Publication, and Step 6: Evaluation. The consistency investigation result of the instructional model based on Science, Technology, Society, and Environment perspectives with the emphasis of the empirical evidence was 0.85 which was consistent. 3. The experimental results in applying the instructional model revealed that the nature of science understanding after applying the instructional model was higher than before applying it statistically significant at .01 level. The satisfaction towards the application Science, Technology, Society, and Environment perspectives with the empirical evidence instructional model showed that the student teachers had the most satisfaction and the satisfaction towards the instructional model found that the student teachers applied the Implicit Approach for the nature of science instruction. 4. The evaluation and improvement of the instructional model to enhance its efficiency could be achieved by the improvement of seeking empirical evidence and developing the Explicit Approach together with Reflection and Coaching and Mentoring for further instruction development with effectiveness. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Development of an Instructional Model based on Science, Technology, Society and the Environment Perspectives and Empirical Evidence to Enhance Student Teachers’ Understanding and Teaching of Nature of Science | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เน้นหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และการสอนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต 2)เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม (STSE) ที่เน้นหลักฐานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนในการสร้างความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู4)เพื่อพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบการสอนตามแนวคิดวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม (STSE) ที่เน้นหลักฐานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 4 ระยะ สะท้อนให้เห็นถึงการวิจัยและพัฒนา (R&D) ระยะที่ 1 คือ การวิจัยเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการสอน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 23 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มี 4 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 2) แบบวิเคราะห์เอกสาร 3) แบบสอบถามความตระหนักปัญหาสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา การประเมินดัชนีความสอดคล้อง วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการสอน กลุ่มเป้าหมายได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบรูปแบบการสอนจำนวน 5 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา การประเมินดัชนีความสอดคล้อง วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระยะที่ 3 ขั้นศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการสอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มี 4 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ 2) แบบวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดย วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ระยะที่ 4 การประเมินผล และปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์พบว่า นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางและมีประเด็นวิทยาศาสตร์ต้องการหลักฐานอยู่ในระดับน้อย 2. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบคือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน สาระความรู้และทักษะ ระบบสังคม หลักการตอบสนอง และสิ่งสนับสนุนซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอนประกอบด้วย 6 ขั้นตอนขั้นที 1 การกระตุ้นความสนใจ ขั้นที่ 2 การวางแผนค้นหาคำตอบ ขั้นที่ 3 การค้นหาคำตอบโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ขั้นที่ 4 การสะท้อนความคิดเห็น ขั้นที่ 5 การนำไปใช้ปฏิบัติจริงและเผยแพร่ผลงาน ขั้นที่ 6 การประเมินผลผลการตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบการสอนเท่ากับ 0.85 ซึ่งมีความสอดคล้องกัน 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการสอน พบว่าความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์หลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างมีระดับนัยสำคัญ 0.01 และความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการสอนในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด รวมทั้งการสอนธรรมชาติของวิทยายาศาสตร์พบว่านักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสอนธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์แบบไม่ชัดแจ้ง 4. การประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการสอนเพื่อให้รูปแบบการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยการปรับปรุงการสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์และพัฒนาการสอนให้ชัดแจ้งร่วมกับการสะท้อนรวมทั้งการให้ข้อเสนอแนะให้คำปรึกษา(Coaching and Mentoring) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนให้มีประสิทธิผลต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
570252012 สมศักดิ์ ก๋าทอง.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.