Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Worawit Janchai-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Pitipong Yodmongkol-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Acrapol Nimmolrat-
dc.contributor.authorVeeraporn Siddooen_US
dc.date.accessioned2020-08-10T01:35:02Z-
dc.date.available2020-08-10T01:35:02Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69472-
dc.description.abstractThe National Economic Development Plan for Thailand emphasizes the creation of a digital workforce to information technology (IT) industry for supporting digital economic growth. At the same time, it has been shown that in the Thai education system, higher education in IT-related subjects is the main producer of graduates who go on to work in IT-related capacities and Thai universities are largely responsible for creating the digital workforce. However, current university IT curriculums are not providing IT students with the skills and knowledge they need to respond to the IT industry’s expectations. This research established an ontology for digital workforce development aimed at bridging the gap between the IT industry and IT education. The research was based on case studies from work integrated learning (WIL) programs in IT education at two universities in Thailand: Chiang Mai University and Prince of Songkla University. The research development was separated into three phases, as detailed below. The first phase established and categorized the competency requirements for entry-level digital workers in the IT industry. The initial IT competencies were derived from existing models and were confirmed by IT experts using qualitative and quantitative methodologies. Exploratory factor analysis (EFA) was then employed with 260 sample to categorize the competencies. The results in terms of the competency expectations discovered were presented within the categories revealed by EFA. The findings showed that 24 competencies were required for the digital workforce, which fell within three categories, Professional skills and IT knowledge, IT management and support, and IT technical. The second phase established the teaching patterns and other related techniques used by IT experts to develop the digital workforce. The 34 experts from the IT industry were interviewed in-depth with the semi-structured questions derived from adult learning theory. Thematic content analysis was used to analyze the interviews in order to identify themes relating to teaching patterns. It was found that there are four teaching patterns commonly used within IT, each of which included specific learning activities and learning sources. The third phase consisted of the development of an ontology for digital workforce development and proposed an ontology for WIL management in IT education. The findings relating to digital workforce competencies and teaching patterns from phases 1 and 2 were used as contexts in the ontology, and a previously proposed ontology-construction method was employed. The ontology class and hierarchy was analyzed from andragogical process. The ontology included 2,511 knowledge representations and the knowledge content of the ontology has practical components that can be directly utilized in WIL programs. WIL stakeholders’ opinions were sought and confirmed that the ontology was useful within their spheres of interest within IT. In conclusion, the IT education sector can reduce the gap between the competencies expected of graduates by the IT industry, and those currently produced, by learning from the ontology and using it in all aspects of its work.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleModeling Digital Workforce Competency for Work Integrated Learning Using Ontologyen_US
dc.title.alternativeการสร้างตัวแบบสมรรถนะแรงงานดิจิทัลสำหรับการศึกษาเชิง บูรณาการกับการทำงานด้วยออนโทโลยีen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการสร้างบุคลากรดิจิทัล แก่อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจดิจิทัล ในขณะเดียวกันการศึกษาปัญหาความต้องแรงงานดิจิทัลในประเทศพบว่าการศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยเฉพาะมหาวิทยาลัย ซึ่งถือเป็นระบบการศึกษาหลักที่ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการแรงงานดิจิทัลของภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศได้ครบถ้วน งานวิจัยนี้ได้สร้างออนโทโลยีเพื่อใช้เป็นความรู้ในการพัฒนาแรงงานดิจิทัล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยลดช่องว่างระหว่างความต้องการแรงงานดิจิทัลของภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศกับความสามารถจริงของบัณฑิตที่จบการศึกษา การศึกษามุ่งเน้นการพัฒนาออนโทโลยีมาใช้กับกรณีศึกษาในโครงการการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสองแห่งในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การพัฒนาการวิจัยแบ่งออกเป็นสามขั้นตอน ขั้นตอนที่หนึ่งคือการศึกษาและสร้างตัวแบบสมรรถนะสำหรับพนักงานดิจิทัลระดับเริ่มต้นในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ การสร้างตัวแบบดำเนินการโดยศึกษาและรวบรวมรูปแบบสมรรถนะสำหรับพนักงานดิจิทัลจากงานวิจัยที่หลากหลายและทำการยืนยันความเหมาะสมของตัวแบบที่ได้โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จากนั้นทำการจัดกลุ่มของสมรรถนะโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบจากการสำรวจความต้องการ 260 ตัวอย่าง ผลการดำเนินการยืนยันว่าภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทยมีความต้องการ 24 สมรรถนะแรงงานดิจิทัล โดยสามารถจัดกลุ่มความต้องการได้ทั้งหมดสามกลุ่มคือ 1) ทักษะวิชาชีพและความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ทักษะการจัดการและบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ 3) ทักษะด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นตอนที่สองคือการศึกษาและสร้างรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาแรงงานดิจิทัลโดยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารเทศจำนวน 34 ผู้เชี่ยวชาญ ด้วยคำถามแบบกึ่งโครงสร้างที่พัฒนามาจากทฤษฏีการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ และใช้วิธีวิเคราะห์แก่นโครงเรื่องเพื่อระบุรูปแบบการสอน ผลการดำเนินการพบว่ารูปแบบการสอนพนักงานดิจิทัลระดับเริ่มต้นมีทั้งหมด 4 รูปแบบ และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีการใช้กิจกรรมประกอบกับความรู้ต่างๆ ในระหว่างการสอนเพื่อพัฒนาพนักงาน ขั้นตอนที่สามคือการสร้างออนโทโลยีเพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาแรงงานดิจิทัลผ่านโครงการการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน ออนโทโลยีถูกสร้างด้วยขั้นตอนการพัฒนาที่ได้รับการยอมรับ คลาสและลำดับของออนโทโลยีพัฒนาขึ้นโดยการวิเคราะห์แนวคิดการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ประกอบกับความรู้จากประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการวิจัยจากขั้นตอนที่หนึ่งและสองได้แก่ สมรรถนะแรงงานดิจิทัลและรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาแรงงานดิจิทัลถูกนำมาใช้เป็นเพื่อสร้างเป็นความรู้ในออนโทโลยี ผลการดำเนินการทำให้ได้ออนโทโลยีที่สามารถนำเสนอความรู้ทั้งหมด 2,511 ความรู้ ผลการทดสอบประสิทธิภาพของออนโทโลยีพบว่าออนโทโลยีสามารถนำไปใช้ได้จริงในบริบทการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานในภาคการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จากผลการดำเนินการทั้งสามขั้นตอนทำให้สรุปได้ว่าภาคการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีองค์ความรู้ที่สามารถใช้พัฒนาแรงงานดิจิทัลได้ตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592151004 วีราภรณ์ ซิดดู.pdf4.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.