Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69469
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐภูมิ วรรณไพศาล | - |
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ชรินทร์ มั่งคั่ง | - |
dc.contributor.author | วิรงรอง ช้างเนียม | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-10T01:34:44Z | - |
dc.date.available | 2020-08-10T01:34:44Z | - |
dc.date.issued | 2020-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69469 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research is to study the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristic of the secondary education school students in Phitsanulok Province. The populations used in the study are the school director, the social studies, religion, and culture department teachers for four persons using interview form and the secondary education students Grade 7-12 for 254 persons. The instruments used in research are an interview form of the school director relating to the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristic of the students, an interview form of the social studies, religion, and culture department teachers relating to the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristic of the students, and an interview form of the students relating to the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristic of the students. Descriptive statistics and percentage using 5-rating scales of significance are used for data analysis. The finding of the studying results indicated as follows: 1. The data acquired from the interviews with the school director and the social studies, religion, and culture department teachers indicated that the social studies teacher competency promoted the sufficiency characteristic of the students consisting of six competencies. Competency 1 Social Studies Curriculum Organization promotes the social studies teachers to organize an integrated social studies curriculum within the science in social studies program and an interdisciplinary integration toward learning management system under the philosophy of sufficiency economy. Competency 2 Development of Digital Citizenship supports a learning activity design applying a technology for promoting a learning management of the students for their understanding and ability to create a self-body of knowledge under the philosophy of sufficiency economy. Competency 3 Social Studies Class Management whereas the learning management and learning environmental management of the students both inside and outside the school are performed to promote the class room with the nature of democracy. The students can design self-learning in accordance with their interests. Competency 4 Research in Social Studies Class The student problem conditions are analyzed and the research results are applied for promoting the sufficiency characteristic of the students. Competency 5 Social Studies Teacher Leadership whereas the social studies teachers must have a body of knowledge to be ready for changes in policies or extension of the policies from the existing resources, and be the leaders in the body of knowledge and practice. The project learning is applied for promoting the students for the self-design of activities, focusing on the principle of self-help using the resources which are available in the locality. The social studies teacher must be a model of stimulation, persuasion, adjustment of the student’s idea and act to have a sufficient behavior. Competency 6 Community Collaboration for the Social Studies Learning Development consists of a knowledge sharing in jointly doing activities with the community by building the collaboration or learning network for the knowledge learning in the matter of the philosophy of the sufficiency economy with the administrators, communities, or other organizations, and the application of the acquired knowledge for promoting the sufficiency characteristic of the students. 2. The data acquired from questionnaire on the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristic of the students consist of six competencies in order of average from high to low were Competency 2 Development of Digital Citizenship (4.42), Competency 1 Social Studies Curriculum Organization (4.31), Competency 3 Social Studies Class Management (4.26), Competency 5 Social Studies Teacher Leadership (4.20), Competency 4 Research in Social Studies Class (4.19), and Competency 6 Community Relationship Creation and Collaboration for Learning Management (4.19), respectively. According to the research results, the social studies teacher competency promoting the sufficiency characteristics of the secondary education school students in Phitsanulok Province was outstandingly efficient and consistent under the framework of the social studies teacher competency of the National Council of Social Studies of the United States, and the instructing teacher competency in functional competency area of the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education, for all of six competencies. Therefore, a guideline for the higher efficient improvement, correction, and development of the social studies teacher competency in promotion of the sufficiency characteristic of the students was recognized. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | สมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก | en_US |
dc.title.alternative | Social Studies Teachers Competency to Promote Sufficiency Characteristics of Students in Secondary School, Phitsanulok Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 4 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์ และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ผู้อำนวยการโรงเรียนเกี่ยวกับสมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเกี่ยวกับสมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน แบบสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับสมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ร้อยละใช้เกณฑ์มาตรวัดความสำคัญ 5 ระดับ ผลจากการศึกษาพบว่า 1. ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พบว่า สมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ ได้แก่ สมรรถนะที่ 1 การจัดหลักสูตรสังคมศึกษา โดยส่งเสริมให้ครูสังคมศึกษาได้มีการจัดทำหลักสูตรสังคมศึกษาเชิงบูรณาภายในศาสตร์สาขาวิชาสังคมศึกษาและการบูรณาการข้ามกลุ่มสาระสู่กระบวนการจัดการเรียนการสอน ภายใต้การปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาความเป็นพลเมืองในสังคมดิจิทัล โดยสนับสนุนในด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนำเทคโนโลยีมาส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและสามารถสร้างองค์ความรู้ตนเองภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ สมรรถนะที่ 3 การจัดการชั้นเรียนสังคมศึกษา มีการจัดการเรียนรู้และการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ที่ส่งเสริมห้องเรียนที่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย โดยนักเรียนสามารถเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ สมรรถนะที่ 4 การวิจัยในชั้นเรียนสังคมศึกษา โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาของนักเรียนและได้นำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริม พัฒนาคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นำของครูสังคมศึกษา ครูสังคมศึกษาต้องเป็นผู้นำด้านองค์ความรู้และการปฏิบัติ ใช้การเรียนรู้แบบโครงงานมาในการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ออกแบบกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง โดยเน้นหลักการพึ่งพาตนเองโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น และครูสังคมศึกษาต้องตัวอย่างการกระตุ้น จูงใจ ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทำของนักเรียนให้มีพฤติกรรมอยู่อย่างพอเพียง สมรรถนะที่ 6 ความร่วมมือกับชุมชนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สังคมศึกษา มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน โดยการสร้างความร่วมมือหรือเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับผู้ปกครอง ชุมชน หรือองค์กรอื่นๆ นำความรู้ที่ได้มาส่งเสริมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน 2. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม สมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาความเป็นพลเมืองในสังคมดิจิทัล (4.42) สมรรถนะที่ 1 การจัดหลักสูตรสังคมศึกษา (4.31) สมรรถนะที่ 3 การจัดการชั้นเรียนสังคมศึกษา (4.26) สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นำของครูสังคมศึกษา (4.20) สมรรถนะที่ 4 การวิจัยในชั้นเรียนสังคมศึกษา (4.19) และสมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (4.19) ตามลำดับ จากผลการศึกษาสมรรถนะของครูสังคมศึกษาที่ส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก โดยรวมมีประสิทธิภาพดีมาก สอดคล้องภายใต้กรอบสมรรถนะของครูสังคมศึกษา สภาสังคมศึกษาแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาและสมรรถนะครูสายผู้สอน ด้านสมรรถนะประจำสายงาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ทั้ง 6 สมรรถนะ และทำให้ทราบแนวทางในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาสมรรถนะของครูสังคมศึกษา ในการส่งเสริมคุณลักษณะการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580232112 วิรงรอง ช้างเนียม.pdf | 2.4 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.