Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.สันติ พิทักษ์กิจนุกูร-
dc.contributor.authorกรกฎ แก้วเรือนen_US
dc.date.accessioned2020-08-08T02:29:57Z-
dc.date.available2020-08-08T02:29:57Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69449-
dc.description.abstractBridging a gap between demand and supply in transit service is crucial for public transportation management as planning actions can be implemented to generate supply in high demand areas or improve inefficient use of a transit service at low transit demand areas, for instance. Thus, the aim of this study is to introduce feasible approaches in measuring the gap, namely gap type 1 and gap type 2. Gap type 1 measures the gap in the unit of the number of public transit riders per area, while the gap type 2 measures the gap as a normalized index. Gap type 1 provides a value that is more realistic than the gap type 2, but requires a detailed passenger data. Gap type 2 is a practical alternative when the detailed passenger data is unavailable by using its weighting scheme to estimate demand values along with a newly proposed normalization method called M-score, which enables a longitudinal gap analysis where yearly gap patterns and trends can be observed and compared. As a case study example, a five-year gap analysis of Calgary transit is presented. A new perspective of hourly gaps presented in this work along with the proposed gap measurement approaches contribute to the field of public transit system planning and service improvement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างอุปสงค์และอุปทานของระบบขนส่ง สาธารณะโดยอิงจากข้อมูลตารางเวลาการเดินทางen_US
dc.title.alternativeDemand-Supply Gap Analysis of Public Transit System Based on Travel Time Schedule Dataen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการลดช่องว่างระหว่างอุปสงค์และอุปทาน (Demand-Supply Gap) ของระบบขนส่งมวลชนเป็นสิ่งสาคัญสาหรับการจัดการระบบการให้บริการระบบขนส่งมวลชน ตัวอย่างการนาไปใช้ที่สาคัญได้แก่ สามารถจัดสรรค์บริการหรืออุปทานสาหรับพื้นที่ที่มีอุปสงค์ในระดับสูง หรือแม้กระทั่งปรับปรุงบริการในพื้นที่ที่มีปริมาณอุปสงค์ในระดับต่าแต่ยังไม่มีประสิทธิภาพในการให้บริการได้ ด้วยเหตุนี้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอวิธีการที่เหมาะสมสาหรับการคานวณช่องว่างทางระบบขนส่งมวลชน โดยใช้ชื่อว่าช่องว่างชนิดที่ 1 (Gap type 1) และช่องว่างชนิดที่ 2 (Gap type 2) โดยช่องว่างชนิดที่ 1 (Gap type 1) คานวณช่องว่างที่แสดงในหน่วยจานวนผู้โดยสารต่อพื้นที่ ขณะที่ช่องว่างชนิดที่ 2 (Gap type 2) เป็นวิธีทางเลือกเมื่อไม่สามารถนารายละเอียดข้อมูลผู้โดยสารมาใช้ในการคานวณโดยการนาค่าดังกล่าวมาใช้เพื่อถ่วงน้าหนัก (Weighting Schemes) เพื่อสาหรับประมาณค่าอุปสงค์พร้อมกับนาเสนอวิธีการทาให้เป็นมาตรฐานรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า M-score ซึ่งทาให้สามารถวิเคราะแนวโน้มและเปรียบเทียบช่องว่างในช่วงเวลาระยะยาวได้ งานวิจัยครั้งนี้ นาเสนอการวิเคราะห์ช่องว่างเป็นระยะเวลา 5 ปี ของระบบขนส่งมวลชนคาลการี (Calgary transit) การนาเสนอช่องว่างแบบรายชั่วโมงในรูปแบบใหม่พร้อมกับนาเสนอแนวทางการคานวณช่องว่างเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวางแผนและให้บริการระบบขนส่งมวลชนen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600631025 กรกกฏ แก้วเรือน.pdf3.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.