Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorProfessor Dr. Yos Santasombat-
dc.contributor.authorGuo Sisien_US
dc.contributor.otherLecturer Dr. Paiboon Hengsuwan-
dc.contributor.otherAssistant Professor Dr. Ariya Svetamra-
dc.date.accessioned2020-08-08T02:29:21Z-
dc.date.available2020-08-08T02:29:21Z-
dc.date.issued2020-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69443-
dc.description.abstractThis research focuses on the study of life experiences, embroidery production, and trading practices of Sani female embroidery traders in Shilin Yi Autonomous County, Yunnan Province, People’s Republic of China. The objectives of study are to understand the impact of cultural commoditization on gender relations; how the embroidery trade opens space for both empowerment and exploitation; and how embroidery practice as form of gendered cultural capital is used to accumulate various forms of capital and negotiate gender relations in spatial practices. The three main concepts used in this study are gendered cultural capital, empowerment, and the commoditization of culture. The methodology of this research was primarily qualitative, including in-depth interviews, personal narratives, participant observation, and non-participant observation. Neoliberalism and cultural commoditization provided new economic opportunities for Sani female embroidery traders to accumulate different forms of capital. Based on Feminist arguments, this study contends that Bourdieu’s concept of cultural capital is limited in that he did not take gender into account, and rarely considered women as subjects with capital-accumulating strategies of their own. In fact, Sani female embroidery traders are not only able to actively acquire different types of gendered cultural capital, in terms of embroidery skills, clothes-making skills, and trading skills to serve customers’ diverse preferences and to meet the market demands, but are also able to strategically utilize their social networks, including both kinship-based networks and non-kin networks, to maintain and expand their trade, further increasing their economic profits. As a result, they convert their different forms of capital (gendered cultural capital, social capital, and economic capital) into symbolic capital to defend their legitimate position in the household and in society. This is further represented by the word ‘lacao’, which refers to an ideal woman, emphasizing her economic contributions to the family, hard-working virtue, and ability to take care of her household. Moreover, Sani female embroidery traders apply various negotiation strategies with their male counterparts. The roles of “mother” and “wife” are the most common strategies used to mediate gender norms. Therefore, their economic participation was not initiated by individual autonomy or self-development, but rather by their familial stability. As they continued to work hard to fulfill their household responsibilities, they left no opportunity for their husbands to complain about them. As they increased their forms of accumulated capital, they obtained greater flexibility in traditional gender roles. As some husbands have had to take on the displaced responsibility of domestic chores, the stereotypical gendered space has been destabilized and conventional gender relations in both the household and society are challenged. This has changed women’s attitudes toward domestic violence and improved their social status, particularly the limitations on women’s mobility. This study has found that women face triple exploitation at the intersections of the gender, market, and state. Some traders, especially temporary traders, are exploited through the gendered division of labor within the household and in the production process, or capitalist market. Furthermore, some traders who became Intangible Cultural Heritage successors were exposed to additional state exploitation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEmbroidery as Empowerment and Exploitation: Gender Relations of Sani Women in Yunnan, Chinaen_US
dc.title.alternativeงานปักกับการเสริมอำนาจและการขูดรีด: ความสัมพันธ์ระหว่างเพศของสตรีซานิในยูนนาน ประเทศจีนen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้เน้นศึกษาประสบการณ์ชีวิตของแม่ค้าขายผ้าปักชาวซานิ เกี่ยวกับปฏิบัติการการผลิตและการค้าขายผ้าปักในเขตปกครองตนเอง ชื่อหลิง ยี มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจผลกระทบของการทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้าต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศ การค้าขายผ้าปักเปิดพื้นที่สำหรับการเสริมอำนาจ และการขูดรีดพวกเธออย่างไร และพวกเธอใช้งานเย็บปักผ้าที่เป็นรูปแบบของทุนวัฒนธรรมทางเพศภาวะในการสะสมทุนรูปแบบต่าง ๆ และต่อรองความสัมพันธ์ระหว่างเพศในปฏิบัติการเชิงพื้นที่อย่างไร โดยใช้แนวคิดหลัก 3 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดทุนวัฒนธรรมทางเพศภาวะ แนวคิดการเสริมอำนาจ และแนวคิดการทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า การวิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การเล่าเรื่องส่วนตัว การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ลัทธิเสรีนิยมใหม่และการทำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้าเปิดโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ให้กับแม่ค้าขายผ้าปักชาวซานิ เพื่อสะสมทุนในหลายรูปแบบ การศึกษานี้มีข้อถกเถียงอยู่บนพื้นฐานแนวคิดของนักสตรีนิยมเกี่ยวกับข้อจำกัดแนวคิดทุนทางวัฒนธรรมของบูดิเยอร์ ที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับมิติเพศภาวะ และเห็นว่าผู้หญิงไม่ค่อยมีกลยุทธ์ในการสะสมทุนของพวกเขาเอง ในความเป็นจริง แม่ค้าขายผ้าปักชาวซานิไม่เพียงแต่มีทุนวัฒนธรรมทางเพศภาวะที่หลากหลาย เช่น ทักษะการเย็บปักถักร้อย ทักษะการตัดเย็บเสื้อผ้า และทักษะการค้าขายเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าและความต้องการของตลาด พวกเธอยังใช้เครือข่ายทางสังคมทั้งเครือข่ายเครือญาติ และไม่เป็นเครือญาติเป็นกลยุทธ์ในการธำรงรักษาและขยายธุรกิจการค้า และเพิ่มผลกำไรทางเศรษฐกิจของพวกเธอ เป็นผลให้พวกเธอแปลงทุนรูปแบบต่าง ๆ (ทุนวัฒนธรรมทางเพศภาวะ, ทุนทางสังคม, ทุนทางเศรษฐกิจ) ไปเป็นทุนทางสัญลักษณ์เพื่อปกป้องความชอบธรรมของสถานะในครัวเรือนและสังคมของพวกเธอ อย่างเช่น คำว่า “หลาเช่า” (lacao) ที่เคยใช้เพื่ออธิบายภาพของผู้หญิงในอุดมคติที่อ้างถึงคุณธรรมและความสามารถในการทำงานอย่างหนักของผู้หญิงในการดูแลบ้านและครอบครัว ถูกนำมาใช้เพื่อเน้นบทบาทผู้หญิงในการจุนเจือเศรษฐกิจในครัวเรือน แม่ค้าขายผ้าปักชาวซานิใช้กลยุทธ์ต่าง ๆ ในการต่อรองกับสามี กลยุทธ์หลักที่พวกเธอใช้เป็นส่วนใหญ่ คือ บทบาท “แม่” และ “ภรรยา” เพื่อประนีประนอมกับบรรทัดฐานทางเพศภาวะ การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของพวกเธอไม่ได้เป็นไปเพื่อตัวเองหรือพัฒนาตนเอง แต่เพื่อความมั่นคงของครอบครัว และพวกเธอยังคงทำงานหนักในบ้านเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อครอบครัว ไม่ให้สามีบ่นและตำหนิได้ พวกเธอเพิ่มรูปแบบที่หลากหลายในการสะสมทุน มีบทบาททางเพศที่ยืดหยุ่นมากขึ้นบางครั้งการทำงานบ้านที่ไม่มีวันสิ้นสุดได้ถูกแทนที่โดยสามี เป็นความท้าทายต่อการกำหนดเพศภาวะอย่างตายตัวแบบดั้งเดิมทั้งในครัวเรือนและสังคม เปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงที่มีต่อความรุนแรงในครอบครัว ทำให้สถานะทางสังคมของผู้หญิงดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทำลายข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวของผู้หญิง การศึกษานี้พบว่าแม่ค้าขายผ้าปักชาวซานิถูกขูดรีดในสามรูปแบบซึ่งมีลักษณะที่ซ้อนทับกัน ได้แก่ เพศภาวะ ตลาด และรัฐ บางกลุ่มโดยเฉพาะแม่ค้าชั่วคราวถูกขูดรีดจากการแบ่งงานกันทำตามเพศในครัวเรือน และในกระบวนการผลิตหรือตลาดแบบทุนนิยม ยิ่งไปกว่านั้น แม่ค้าบางรายที่เข้าร่วมโครงการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ยังถูกขูดรีดจากรัฐอีกด้วยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590455801 Guo Sisi.pdf11.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.