Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดร. ศิริมา สุวรรณ (Dr. Sirima Suwan)-
dc.contributor.authorนายพีรณัฐ กองเสียงสังข์ (Mr. Peeranat Kongsiangsang)en_US
dc.date.accessioned2020-08-08T02:28:41Z-
dc.date.available2020-08-08T02:28:41Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69437-
dc.description.abstractThis aim of this study is to compare interval estimation methods for the population median of exponential distribution considering from coverage probabilities and average widths based on the Bayesian method, The inverting a likelihood ratio test method, The variance stabilizing transformation method and the Bayesian bootstrap method. We conducted the simulation studies based on sample sizes of 10, 15, 20, 30, 40, 50, 100, 150 and 200 and population median of 1, 5, 15, 30, 50 and 100. The Monte Carlo simulation is conducted for 10,000 times with 90%, 95% and 99% confidence level for each situation. Results of this study showed that the Bayesian method and the Bayesian bootstrap method provided coverage probabilities close to the nominal level in all situations but the average width of the Bayesian bootstrap method was narrower than the Bayesian method in the case of small sample sizes. The inverting a likelihood ratio test method provided the widest average width while the variance stabilizing transformation method provided the narrowest average width in all cases of the study. However, the coverage probabilities of all methods tend to be close to the nominal level when the sample sizes were increased.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบช่วงความเชื่อมั่นสำหรับมัธยฐานของการแจกแจงแบบเลขชี้กำลังen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบช่วงความเชื่อมั่นสำหรับมัธยฐานของการแจกแจงแบบเลขชี้กำลังen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าแบบช่วงสำหรับค่ามัธยฐานของประชากรที่มีการแจกแจงแบบเลขชี้กำลัง โดยพิจารณาจากค่าความน่าจะเป็นครอบคลุมและค่าความกว้างเฉลี่ยที่ได้จากการประมาณแบบวิธีเบส์ วิธีส่วนกลับการทดสอบอัตราส่วนภาวะน่าจะเป็น วิธีแปลงข้อมูลทำให้ความแปรปรวนคงที่ และวิธีบูตสแตรปเบส์ ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเท่ากับ 10, 15, 20, 30, 40, 50, 100, 150 และ 200 และมัธยฐานประชากรเท่ากับ 1, 5, 15, 30, 50 และ 100 ที่ระดับความเชื่อมั่น 90%, 95% และ 99% จำลองการทดลองซ้ำ 10,000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์ที่ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าการประมาณค่าแบบช่วงโดยวิธีเบส์และบูตสแตรปเบส์ให้ค่าความน่าจะเป็นครอบคลุมใกล้เคียงกับระดับความเชื่อมั่นที่กำหนดมากกว่าวิธีอื่นในทุกขนาดตัวอย่างที่ศึกษา แต่วิธีบูตสแตรปเบส์ให้ค่าความกว้างเฉลี่ยน้อยกว่าวิธีเบส์เมื่อขนาดตัวอย่างเล็ก และเมื่อพิจารณาทุกสถานการณ์ที่ศึกษาพบว่าวิธีส่วนกลับการทดสอบอัตราส่วนภาวะน่าจะเป็นเป็นวิธีที่ให้ค่าความกว้างเฉลี่ยมากที่สุด ในขณะที่วิธีแปลงข้อมูลทำให้ความแปรปรวนคงที่เป็นวิธีที่ให้ค่าความกว้างเฉลี่ยน้อยที่สุด และเมื่อตัวอย่างมีขนาดเพิ่มขึ้นความน่าจะเป็นครอบคลุมของการประมาณช่วงความเชื่อมั่นของทุกวิธีจะมีค่าเข้าใกล้ระดับความเชื่อมั่นที่กำหนดen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docx54.55 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
APPENDIX.docx140.61 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
CHAPTER-1.docx66.6 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
CHAPTER-2.docx666 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
CHAPTER-3.docx118.87 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
CHAPTER-4.doc525.5 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
CHAPTER-5.docx78.35 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
CONTENT.doc76 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
COVER.docx59.78 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
REFERENCE.docx61.38 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.