Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพงศ์ นาทวิชัย-
dc.contributor.authorสุดารัตน์ ยาวุฑฒิen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T04:25:11Z-
dc.date.available2020-08-07T04:25:11Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69415-
dc.description.abstractThis research is an improvement for the top-k query answering on the UCLAF (User-centered Collaborative Location and Activity Filtering) model, part of location-based recommendation systems, in order to increase the efficiency. This work proposes tree-based index structures to improve the efficiency of the top-k location-based recommendation queries. They are the variation of multidimensional index structures i.e. aR-tree, bR-tree, and cR-tree. For each of the index, a special component is added into all non-leaf nodes as additional information for the top-k query purpose. In the tree traversal processes, the nodes are selected by verifying the additional component according to pre-specified conditions. Eventually, the nodes that pass the conditions are accessed while the others are pruned. From the experiments, the proposed work is much more efficient for top-k query answering for the UCLAF model. The result shows that when the number of data in UCLAF model is increased, the proposed method can decrease the execution for determining top-k results compared to the other methods. These results can be obtained from accessing only potential nodes and pruning the rest.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectดัชนีen_US
dc.subjectการสอบถามแบบสูงสุดen_US
dc.subjectการสอบถามen_US
dc.subjectระบบการแนะนำเชิงตำแหน่งen_US
dc.titleดัชนีสำหรับการตอบการสอบถามแบบสูงสุด k อันดับในระบบการแนะนำเชิงตำแหน่งen_US
dc.title.alternativeIndex for top-k query answering in location-based recommendation systemen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc005.3-
thailis.controlvocab.thashซอฟต์แวร์-
thailis.controlvocab.thashคอมพิวเตอร์อัลกอริทึม-
thailis.manuscript.callnumberว 005.3 ส442ด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้เป็นการปรับปรุงประสิทธิภาพการสอบถามจากแบบจำลอง UCLAF ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการแนะนำเชิงตำแหน่ง เพื่อใช้ในการตอบการสอบถาม k อันดับ โดยได้ประยุกต์ใช้โครงสร้างดัชนีแบบทรีขึ้นมาเพื่อช่วยในการใช้ในการตอบการสอบถาม โดยโครงสร้างทรีที่ได้พัฒนานั้น ได้แก่ aR-Tree, bR-Tree และ cR-Tree โดยทั้งสามโครงสร้างทรีนั้น ได้มีการเพิ่มองค์ประกอบที่สำคัญที่จะช่วยลดเวลาที่ใช้ในการตอบการสอบถาม องค์ประกอบที่ถูกเพิ่มเข้าไปนั้น จะช่วยให้การท่องโครงสร้างทรีเพื่อให้หาคำตอบของการสอบถาม สามารถเลือกโหนดที่จะเข้าถึง โดยตรวจสอบเงื่อนไขว่าองค์ประกอบที่ถูกเพิ่มไปของโหนดนั้น ทำให้โหนดน่าจะเป็นคำตอบหรือไม่ เมื่อผ่านเงื่อนไขโหนดนั้นจะถูกเข้าถึง แต่ถ้าไม่ผ่านเงื่อนไขแล้ว โหนดนั้นก็จะถูกพรุนทิ้ง และไม่มีการเข้าถึงโหนดที่เป็นลูกของโหนดนั้นอีกด้วย จากผลการทดลองพบว่าเวลาที่ใช้ในการตอบการสอบถาม k อันดับโดยใช้โครงสร้างดัชนีที่พัฒนานั้น มีการตอบการสอบถามที่เร็วขึ้นกว่าเดิมเมื่อมีการเพิ่มขึ้นของจำนวนข้อมูลบนแบบจำลอง UCLAF ซึ่งสาเหตุของเวลาการตอบการสอบถามที่ลดลงนั้น เป็นผลจากความสามารถในการพรุนโหนดที่ไม่ผ่านเงื่อนไขของแต่ละโครงสร้างดัชนีนั่นเองen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.