Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69394
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Yupa Tasod | - |
dc.contributor.author | Paweena Seedee | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-07T01:03:58Z | - |
dc.date.available | 2020-08-07T01:03:58Z | - |
dc.date.issued | 2014-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69394 | - |
dc.description.abstract | The Marine Mesozoic rocks in this study are distributed in northern Part of Mae Hong Son Province. Three localities of chert sections have been investigated for paleoenvironmental and tectonic setting implications. This study focused on micropaleontology, chronostratigraphy, petrography and geochemistry of cherts in order to determine the youngest age range of the Main Paleo-Tethys. Chert samples were radiolarian extracted and systematically studied. These samples contain poor to rich identifiable radiolarian fauna. Radiolarians are composed of 13 families, 18 genera and 28 species. This study can be divided into six assemblage zones: 1) Ishigaum trifustis Assemblage (Wuchiapingian) 2) Albaillella excelsa Assemblage (Wuchiapingian-Changhsingian) 3) Spumellaria Assemblage (Olenekian-Anisian) 4) Triassocampe deweveri Assemblage (Ladinian) 5) Capnuchosphaera-Triassocampe sp. Assemblage (Carnian) 6) Spongostylus tortilis Assemblage (late Carnian - early Norian?) in chronological order. These assemblages are correlated with previous works. According to radiolarian data, the sequences of cherts span from Late Permian to Late Triassic (Wuchuapiangian to late Carnian). Therefore, the youngest age of chert in this study is considered to be the Late Triassic (late Carnian), approximately 228 Ma, which implies the latest timing of closure of the Paleo-Tethys. For petrographic study, most chert in this study comprised microcrystalline, clay minerals, organic matters, fauna and quartz vein. These chert were deposited in deep ocean basin environment which is below the carbonate compensation depth (CCD), approximately deeper than 4 km. Chert characteristics are accumulated in a low energy environment. For geochemical study, twenty three chert samples were analyzed by using X-Ray Fluorescence (XRF) methodology for major and trace elements analysis. The analyzed samples have high silica content (89 percent average). These rocks, also called biogenical sediments, were originated from siliceous test and sponge spicules. Some samples have a few terrigenous input and were influenced by hydrothermal input. Moreover, the result indicated that chert sequences in this study were deposited near the continental margin and were not affected by volcanic and weathering contribution. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Marine Mesozoic Rocks in Mae Hong Son Province, Thailand: Paleoenvironmental and Tectonic Setting Implications | en_US |
dc.title.alternative | หินมหาสมุทรมหายุคมีโซโซอิกของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย: ความเกี่ยวข้องทางสภาพแวดล้อมโบราณและลักษณะทางธรณีวิทยาแปรสัณฐาน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | หินมหาสมุทรมหายุคมีโซโซอิกในพื้นที่ศึกษา ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ทำการศึกษาหินเชิร์ต 3 บริเวณ เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมโบราณและลักษณะทางธรณีวิทยาแปรสัณฐาน โดยเน้นข้อมูลด้านจุลบรรพชีวินวิทยา ลำดับชั้นหิน ศิลาวรรณนา และธรณีเคมีของหินเชิร์ต เพื่อระบุช่วงอายุอ่อนที่สุดของมหาสมุทรเททีสหลัก ตัวอย่างหินเชิร์ตถูกนำมาสกัดหาเรดิโอลาเรียน และศึกษาลำดับชั้นอนุกรมวิธาน พบว่าเรดิโอลาเรียนประกอบด้วย 13 วงศ์ 18 สกุล 28 ชนิด สามารถแบ่งได้เป็น 6 ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน ตามลำดับอายุกาลจากแก่ไปอ่อน โดยช่วงชั้นกลุ่มชีวินเหล่านี้ได้มีการเทียบเคียงกับงานที่มีมาก่อนแล้ว ได้แก่ 1) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Ishigaum trifustis (อายุอู้เจียผิงเกียน) 2) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Albaillella excelsa (อายุอู้เจียผิงเกียนถึงฉางซิงเกียน) 3) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Spumellaria (อายุโอเลนิเกียนถึงอะนีเซียน) 4) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Triassocampe deweveri (อายุแลดิเนียน) 5) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Capnuchosphaera-Triassocampe sp. (อายุคาร์เนียน) และ 6) ช่วงชั้นกลุ่มชีวิน Spongostylus tortilis (อายุคาร์เนียนตอนปลายถึงนอร์เรียนตอนต้น?) จากข้อมูลของเรดิโอลาเรีย ทำให้ทราบว่าลำดับชั้นหินเชิร์ตมีช่วงเวลาตั้งแต่ ยุคเพอร์เมียนตอนปลายไปจนถึงยุคไทรแอสซิกตอนปลาย (อู้เจียผิงเกียนถึงคาร์เนียนตอนปลาย) ดังนั้นหินเชิร์ตที่อ่อนที่สุดในการศึกษาครั้งนี้คือ ยุคไทรแอสซิกตอนปลาย (คาร์เนียนตอนปลาย) หรือมีอายุโดยประมาณ 228 ล้านปีก่อน ซึ่งเป็นช่วงเวลาสุดท้ายก่อนมหาสมุทรเททิสโบราณจะปิดลง การศึกษาศิลาวรรณนา ของหินเชิร์ตที่ศึกษาส่วนใหญ่ประกอบด้วย เนื้อจุลผลึกของควอตซ์ แร่ดิน อินทรีย์วัตถุ ซากดึกดำบรรพ์ และสายแร่ควอตซ์ มีการตกทับถมในสภาพแวดล้อมแบบแอ่งมหาสมุทรระดับลึกที่มีพลังงานต่ำ ซึ่งเป็นความลึกที่คาร์บอเนตเกิดการละลาย (carbonate compensation depth, CCD) หรือมีความลึกโดยประมาณกว่า 4 กิโลเมตร การศึกษาธรณีเคมีของหินเชิร์ตจำนวน 23 ตัวอย่าง โดยการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเอกซเรย์ฟลูออเรสเซนต์ เพื่อวิเคราะห์ปริมาณธาตุหลักและธาตุส่วนน้อย พบว่าตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ มีปริมาณซิลิกาสูง โดยเฉลี่ยร้อยละ 89 หินเหล่านี้เรียกได้อีกอย่างว่าตะกอนชีวภาพ เกิดจากเศษซากซิลิเชียส และฟองน้ำ บางตัวอย่างมีการปะปนของตะกอนดินในปริมาณน้อย และได้รับอิทธิพลจากน้ำแร่ร้อน ทั้งนี้ผลที่ได้ยังระบุอีกว่าลำดับหินเชิร์ตในพื้นที่ศึกษา มีการสะสมตัวใกล้กับบริเวณขอบทวีป และไม่ได้รับผลกระทบจากภูเขาไฟและการผุพัง | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 10.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.