Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Pisanu Wongpornchai-
dc.contributor.authorMaung Maung Tunen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:03:53Z-
dc.date.available2020-08-07T01:03:53Z-
dc.date.issued2012-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69393-
dc.description.abstractGas sand reservoir determination is one of the challenge tasks in the petroleum industry. The study area is in the Gulf of Moattama, Mottama basin, Offshore Myanmar. It covers an area of about 275.9 square kilometers. The objective of this study is to detect gas in sandstone reservoir using amplitude versus offset attribute analysis and geophysical well log data. Amplitude crossplot of 3D seismic data set (near- and mid- angle stack) were used for AVO analysis. The geophysical well log data such as P-wave velocity, S-wave velocity, gamma ray, resistivity, density, Poisson’s ratio and acoustic impedance of four interesting reservoirs (Gas Sands A, B, C, and D) from Well 1 and Well 2 were crossplotted to determine the gas reservoirs. P-wave velocity, S-wave velocity, density and check shot data were used to create the AVO model by using Zoeppritz equation. The top of the elastic model of gas sands displayed a trough at normal incidence and the magnitude of the amplitude decreased with increasing offset. The resulting crossplot of intercept and gradient of AVO synthetic attribute of Well 1 and Well 2 showed cluster or “wet trend” about the origin and anomalous values in the second and fourth quadrants, which correspond to class IV AVO anomalies at Well 1 and Sand C and Sand D at Well 2. For the Gas Sand A of Well 2, the anomalous values fall in the first and third quadrants showing the characteristics of Class III AVO type. The RMS amplitude volume of Gas Sands A, B, C, and D with 5 ms windows showed distribution of each sand and new potential area of hydrocarbon accumulation. According to the results, AVO analysis can be used to distinguish between lithologic factors and hydrocarbons. This study can be applied for future development and locating infill wells and can also be used to evaluate the reservoir, understand more the relationship between rock and fluids.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleEvaluating and Mapping Gas Sand Reservoirs Using AVO Attributes and Geophysical Well Log Data in an Area of Block M9, Offshore Myanmaren_US
dc.title.alternativeการประเมินและจัดทำแผนที่ชั้นทรายกักเก็บแก๊สโดยใช้ลักษณะประจำการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางและข้อมูลหยั่งธรณีฟิสิกส์หลุมเจาะในพื้นที่แปลง เอ็ม 9 นอกชายฝั่งพม่าen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการกำหนดชั้นทรายกักเก็บแก๊สเป็นงานที่ความท้าทายอย่างหนึ่งในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม พื้นที่ศึกษาครั้งนี้อยู่ในอ่าวเมาะตะมะ แอ่งเมาะตะมะ นอกชายฝั่งประเทศเมียนมาร์ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 275.9 ตารางกิโลเมตร วัตถุประสงค์ของการศึกษครั้งนี้คือการตรวจหาแก๊สในชั้นทรายกักเก็บโดยใช้การวิเคราะห์ลักษณะประจำการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางและข้อมูลหยั่งธรณีฟิสิกส์หลุมเจาะ แอมพลิจูดของข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนซ้อนทับแบบสามมิติแบบค่ามุมน้อย และ ค่ามุมปานกลางถูกนำมาลงจุดเพื่อใช้ในการวิเคราะห์แอมพลิจูดแปรผันกับระยะทาง ข้อมูลหยั่งธรณีฟิสิกส์หลุมเจาะ อาทิ ความเร็วคลื่นพี ความเร็วคลื่นเอส รังสีแกมมา ความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ ความหนาแน่น อัตราส่วนปัวซง และ อิมปิแดนซ์ของคลื่นเสียง ของ ชั้นกักเก็บที่สนใจ จำนวน 4 ชั้น (ชั้นทราบแก๊ส เอ บี ซี ดี) จาก หลุม 1 และ หลุม 2 ถูกนำมาลงจุด เหื่อหาชั้นกักเก็บแก๊ส ความเร็วคลื่นพี ความเร็วคลื่นเอส ความหนาแน่น และ ข้อมูลการยิงตรวจสอบความเร็ว ถูกใช้ในการสร้างแบบจำลองการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางโดยใช้สมการของซีพพริทส์ ผิวด้านบนของแบบจำลองยืดหยุ่นของชั้นกักเก็บแก๊สแสดงลักษณะของท้องคลื่นที่ตำแหน่งการตกกระทบตั้งฉากและขนาดของแอมพลิจูดลดลงเมื่อระยะทางเพิ่มขึ้น ผลของการลงจุดระหว่างระยะตัดแกนและความลาดชันของลักษณะประจำสังเคราะห์ของการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางจากหลุม 1 และ หลุม 2 แสดงลักษณะของการเกาะกลุ่มเป็นแนวผ่านจุดกำเนิด และค่าผิดปกติตกอยู่ใน จตุภาคที่สองและ จตุภาคที่สี่ ซึ่งสัมพันธ์กับค่าผิดปกติของการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางแบบคลาสสี่สำหรับหลุมที่ 1 และ ชั้นซี และ ชั้นดี ของหลุม 2 สำหรับชั้นแก๊สเอของหลุม 2 ค่าผิดปกติตกอยู่ในจตุภาคที่หนึ่งและจตุภาคที่สาม สัมพันธ์กับค่าผิดปกติของการแปรผันแอมพลิจูดกับระยะทางแบบคลาสสาม ก้อนปริมาตรของแอมพลิจูดค่ารากกำลังสองเฉลี่ยของ ชั้นทรายกักเก็บแก๊ส เอ บี ซี และ ดี ที่ความกว้าง 5 มิลลิวินาทีแสดงการกระจายตัวของชั้นทรายแต่ละชั้น และ พื้นที่ใหม่ที่มีศักยภาพของการสะสมตัวของสารไฮโดรคาร์บอน จากผลการศึกษาแสดงว่า การวิเคราะห์แอมพลิจูดแปรผันกับระยะทางสามารถใช้ในการจำแนกปัจจัยทางวิทยาหิน และ ไฮโดรคาร์บอน การศึกษานี้สามารถประยุกต์ใช้ในการพัฒนาพื้นที่ในอนาคต และ ใช้กำหนดหลุมเจาะเพิ่มเติม และยังสามารถใช้ในการประเมินชั้นกักเก็บ ทำความเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างหินและของไหลen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf18.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.