Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLect.Dr.Tirapot Chandarasupasang-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Nopasit Chakpitak-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr.Pitipong Yodmongkol-
dc.contributor.authorPornpen Lertthasanawongen_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:02:08Z-
dc.date.available2020-08-07T01:02:08Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69378-
dc.description.abstractMost of software companies in Thailand are categorized as very small enterprises (VSEs) which have many limitations such as resource, fund and experience. The critical problem of the software industry is to determine the scope and understand the customer requirements. Requirement Elicitation is the first process of gathering customer requirements. So this process is very significant for software development. Most of the customer software requirements are expressed in natural language. Some language has a specific character for example Chinese, Japanese, and Thai languages. They are written in un-segmented form and have no punctuation mark. This causes the reader to ambiguity and mis-interpretation. From the survey, it is found that the problems occured during the communication between the customers and the software companies. The customers do not know what exactly they want and the software companies have no tool and technique for deeper understanding. The software companies are depend on the experience of system analysts who may have no experience in customer business. This research is developed the elicitation tool. The conceptual frame work is based on CommonKADS which is to formulate knowledge models to manage knowledge creation and reuse. The research used Natural Language Processing for vector representation and then group all requirement representation by keywords. This method can reduce the duration of the work, reduce the cost of software development and reduce resources which are the limitations of VSEs. The research methodology is called TDVC (Transaction Domain Dictionary Vector Space Representation and Cluctering) There are four main stages of the research approaches which are (1) Transaction Dialog construction. At the end of this stage all requirements are collected. (2) Domain Definition. Each software requirement is tokenized into a series of terms before it can be further analyzed and translated. The unknown words from software requirements are trained for the new vocabularies and collected for specific business dictionary meaning which is called Domain Dictionary. (3) Neo Vector Space representation. the transformative of requirement into vector space for each requirement sentence. (4) New grouping. The keywords similarity of inner group and outer group is compared for suitable of requirement grouping which can be grouped correctly. In this research, there are four cases study of accounting requirements. These cases are the most developed case of VSEs. These cases are small packaged software in Thai language, small customized software in Thai language, medium customized software in Thai language and finally small packaged software in English language for robustness test of real use. The results showed that TDVC can ensure the precision (P), integral (Recall) and the F-measure in high number. The results also showed that the research methodology gives the high quality criteria in correctness, completeness, traceability and consistency when compared to the traditionl method such as Interview, Focus groups, Brainstorming, Scenarios, Storyboards, Prototyping and Joint Application Development (JAD) There are many research findings, firstly the TDNN can be used for Business Analysis in real situation. Secondly, the methodology can be implemented for special character language such as Thai and also English. Thirdly, The method can help to translate the requirements because the requirement representations are in vector from the domain expert knowledge base. This method can reduce the ambiguity which are from human decisions making. Finally, the method shows better performance than the traditional method in term of cost effectiveness of the elicitation process, quality of elicitation products and quality of elicitation services.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAlternative Elicitation Framework to Improve Requirement Quality for Very Small Enterprise Using Knowledge Management Approachen_US
dc.title.alternativeกรอบความคิดการสกัดข้อมูลทางเลือกเพื่อพัฒนาคุณภาพความต้องการสำหรับผู้ประกอบการขนาดเล็กมากโดยใช้วิธีการจัดการความรู้en_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นองค์กรขนาดเล็ก ซึ่งมีข้อจำกัด เช่น ทรัพยากรณ์ เงินลงทุน และประสบการณ์ ปัญหาที่สำคัญของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ คือ การกำหนดขอบเขตและความเข้าใจในความต้องการของลูกค้า ขั้นตอนของการสกัดข้อมูลเป็นขั้นตอนแรกที่จะได้มาซึ่งความต้องการของลูกค้าจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยส่วนมากลูกค้าจะระบุความต้องการในรูปแบบภาษาพูด บางภาษา เช่น ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และภาษาไทย มีลักษณะเฉพาะคือการเขียนที่ไม่มีการเว้นวรรค และไม่มีเครื่องหมายแสดงวรรคตอน สาเหตุนี้ทำให้ผู้อ่านเกิดการเข้าใจผิดและแปลความหมายที่ผิดพลาดได้ จากการสำรวจ พบว่า ปัญหาดังกล่าวเกิดจากการสื่อสารระหว่างผู้ให้ข้อมูล คือ ลูกค้า และ ผู้รับข้อมูล คือ ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ โดยลูกค้าที่ไม่รู้ความต้องการที่แท้จริง ส่วนผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก ไม่มีกระบวนการ หรือ ข้อมูลที่ช่วยสร้างความเข้าใจเพิ่มเติม ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์อาศัยประสบการณ์ของนักวิเคราะห์ระบบ ซึ่งอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในสาขาธุรกิจของลูกค้า งานวิจัยนี้จึงได้พัฒนาชุดเครื่องมือในการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า เครื่องมือนี้พัฒนาจากแนวคิดของ CommonKAD ซึ่งเป็นแบบจำลองในการสร้างความรู้เพื่อการบริหารและนำกลับมาใช้ งานวิจัยนี้ได้นำเทคนิคการประมวลผลภาษาธรรมชาติ มาสร้างตัวแทนค่าเวกเตอร์ทางคณิตศาสตร์ของแต่ละความต้องการ จากนั้นจะสามารถนำค่าตัวเลขเหล่านั้นไปจัดกลุ่มตามความเหมือนของคำสำคัญวิธีการนี้สามารถลดระยะเวลาในการทำงาน ลดต้นทุนในการพัฒนาซอฟต์แวร์ และลดทรัพยากร ซึ่งเป็นข้อจำกัดของผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ขนาดเล็กได้ ชุดเครื่องมือในงานวิจัยนี้ เรียกว่า TDNN ซึ่งประกอบด้วยสี่ขั้นตอน คือ (1) การสร้างระบบโต้ตอบทางธุรกิจ Transaction Dialog construction ซึ่งเป็นระบบสื่อสารของการสกัดความต้องการในขั้นตอนนี้จะป็นการรวบรวมความต้องการทั้งหมด (2) ขั้นตอนการกำหนดความหมายของโดเมน Domain Definition โดยความต้องการในแต่ละประโยคถูกแยกออกมาเป็นคำก่อนที่จะนำไปวิเคราะห์และแปรสภาพ คำที่ไม่ปรากฎจากความต้องการจะถูกรวบรวมให้เป็นความหมายเฉพาะธุรกิจและนำมาใช้เป็นฐานข้อมูลซึ่งเรียกว่า Doain Dictionary (3) ขั้นตอนการแทนค่าความต้องการเรียกว่า Neo Vector Space representation โดยนำเวกเตอร์มาใช้คำนวณแต่ละประโยคของความต้องการ (4) ขั้นตอนการจัดกลุ่ม เรียกว่า New grouping เป็นการนำคำสำคัญมาเป็นค่าที่ใช้เปรียบเทียบค่าความเหมือนโดยเปรียบเทียบค่าความเหมือนที่อยู่ในกลุ่มภายในเทียบกับค่าความเหมือนนอกกลุ่ม ซึ่งจะสามารถจัดกลุ่มได้อย่างถูกต้อง ในการวิจัยนี้ ใช้กลุ่มตัวอย่างความต้องการด้านบัญชี จำนวน 4 กลุ่มหลัก กลุ่มตัวอย่างเหล่านี้เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ขนาดเล็กพัฒนามากที่สุด กลุ่มตัวอย่างเหล่านี้ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูปขนาดเล็กที่เป็นภาษาไทย โปรแกรมใช้งานเฉพาะขนาดเล็กที่เป็นภาษาไทยโปรแกรมใช้งานเฉพาะขนาดกลางที่เป็นภาษาไทย และ โปรแกรมสำเร็จรูปขนาดเล็กที่เป็นภาษาอังกฤษ สำหรับทดสอบการใช้ข้อมูลจริง ผลการทดลองพบว่า ชุดเครื่องมือ TDNN สามารถให้ค่าคุณภาพของความความแม่นยำ (P) ความครบถ้วน (Recall) และค่า F-measure ค่อนข้างสูง ผลการทดลองยังแสดงให้เห็นว่ากระบวนการวิจัยนี้ให้ค่าความถูกต้อง ค่าความครบถ้วน และการสืบย้อนกลับได้อย่างถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับ เทคนิคเดิมที่มีอยู่ เช่น สัมภาษณ์, กลุ่มโฟกัส, การระดมความคิด, สตอรี่บอร์ด, การสร้างต้นแบบและการประยุกต์ใช้ร่วมกัน (JAD) งานวิจัยครั้งนี้มีสิ่งที่ค้นพบหลายประการ เช่น ประการที่หนึ่งชุดเครื่องมือ TDNN สามารถใช้แทนนักวิเคราะห์ธุรกิจ ได้จริง ประการที่สองกระบวนการวิจัยนี้สามารถใช้ได้กับภาษาที่คุณลักษณะพิเศษ เช่นภาษาไทย และใช้กับภาษาอังกฤษ ประการที่สามชุดเครื่องมือนี้สามารถช่วยในการแปลความหมายของความต้องการ เนื่องจากการแทนค่าที่เหมาะสมจากฐานความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในรูปแบบเวกเตอร์ที่สามารถนำไปใช้ในการคำนวณค่าสถิติ วิธีนี้สามารถลดปัญหาความกำกวมที่เกิดจากการตัดสินใจของมนุษย์ ประการที่สุดท้ายชุดเครื่องมือนี้ให้ประสิทธิภาพดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคเดิม โดยการเปรียมเทียบในด้านประสิทธิภาพต้นทุน, ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์ และ ด้านคุณภาพของการบริการen_US
Appears in Collections:CAMT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.