Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69368
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร. จารึก สิงหปรีชา-
dc.contributor.advisorผศ.ดร. นิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorทศพร คิวประสพศักดิ์en_US
dc.date.accessioned2020-08-07T01:01:15Z-
dc.date.available2020-08-07T01:01:15Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69368-
dc.description.abstractThere are several researches about students’ decision behavior for choosing major in higher education in Thailand are a lot of number but the experimental research which test the difference effect of money incentive (Market norms) and non-market incentive (Social norms) following Heyman&Ariely (2004) has not been done. The Objective of this study is to examine the effect of different incentive on decision making and effort. The sample was 2,171 high school students using a behavioral economic experiment. The result showed that students’ decision behavior were inconsistent with economic rationality assumption. Money incentive was lower efficacy than non-money incentive. Students with non-money incentive or social norms had higher effort and compensation than students with money incentive or market norms. Moreover, Score and teachers’ suggestion had larger impact on students’ decision more than their preference. This study suggests that economic study should be aware about real human behavior which is not always base on economic rational assumption for developing economic knowledge which conforms to real human behavior. Moreover, Thai education system should increase support of the process that helps the student to find their real preference and identity in order to reduce wrong decision and education lost.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการตัดสินใจที่ไร้เหตุผลทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการเลือกคณะในระดับอุดมศึกษาen_US
dc.title.alternativeIrrational Economic Decision Behavior for Choosing Major in Higher Educationen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกคณะของนักเรียนเพื่อเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทยมีจำนวนมาก แต่งานวิจัยที่ผ่านมายังไม่มีงานใดที่ทดสอบเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างการตัดสินใจที่มีอิทธิพลจากแรงจูงใจซึ่งขับเคลื่อนด้วยเงิน (บรรทัดฐานทางตลาด) กับแรงจูงใจที่ปราศจากเงิน (บรรทัดฐานทางสังคม) ตามแนวคิดของ Heyman และ Ariely (2004) วัตถุประสงค์การศึกษาครั้งนี้คือ เพื่อทดสอบความพยายามในการทำงานจากการตัดสินใจภายใต้แรงจูงใจที่แตกต่างกัน จากตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 จำนวน 2,171 คน โดยใช้วิธีการทดลองในเชิงเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการตัดสินใจของนักเรียนไม่สอดคล้องกับสมมติฐานความเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์แรงจูงใจการทางการเงินมีประสิทธิภาพต่ำกว่าแรงจูงใจที่ปราศจากเงิน ภายใต้แรงจูงใจที่ปราศจากเงินหรือบรรทัดฐานทางสังคมทำให้นักเรียนมีความเต็มในการทำงานและได้รับค่าตอบแทนสูงกว่านักเรียนที่ใช้แรงจูงใจทางการเงินหรือบรรทัดฐานทางตลาด นอกจากนั้นคะแนนสอบและคำแนะนำจากครูมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกของนักเรียนมากกว่าความชอบของตนเอง ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้คือการศึกษาเศรษฐศาสตร์ที่ควรคำนึงถึงความเป็นจริงว่าพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกของมนุษย์อาจไม่ได้อยู่บนสมมติฐานความเหตุผลในทางเศรษฐศาสตร์เสมอไป เพื่อนำไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมที่แท้จริงของมนุษย์ นอกจากนั้นการศึกษา ไทยควรเพิ่มการสนับสนุนกระบวนการที่ช่วยให้นักเรียนค้นหาความชอบและตัวตนที่แท้จริงของแต่ละคน เพื่อลดการตัดสินใจที่ผิดพลาดและลดความสูญเสียทรัพยากรด้านการศึกษาen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.