Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. นิธิดา อดิภัทรนันท์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์นันทิยา แสงสิน-
dc.contributor.authorภิรดา บุญศิริชัยen_US
dc.date.accessioned2020-08-05T03:50:13Z-
dc.date.available2020-08-05T03:50:13Z-
dc.date.issued2014-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69326-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to compare students’ English reading ability and learning attitude before and after they were taught through QAR strategy. The target group was 32 Mathayom Suksa 5 students who took the English course (E 32102) in the second semester of the academic year 2013 at ThakhumNgren Wittayakarn School, Mae Tha District, Lamphun Province. The experimental instruments consisted of 10 QAR lesson plans. The data collecting instruments consisted of an English reading ability test and a learning attitude test. The data were analyzed for mean, standard deviation, and percentage. The findings of this research were as follows : 1. After the students were taught through QAR strategy, their English reading ability was higher than that shown prior to the experiment. 2. After the students were taught through QAR strategy, their learning attitude was as equal as shown prior to the experiment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้กลวิธี คิว เอ อาร์ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษและเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeUsing QAR Strategy to Develop English Reading Ability and Attitude Among Mathayom Suksa 5 Studentsen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษและเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนจำนวน 32 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 32102) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการสอนโดยใช้กลวิธีคิว เอ อาร์ จำนวน 10 แผน แผนละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ และแบบวัดเจตคติ และนำคะแนนที่ได้ไปทำการวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีคิว เอ อาร์ มีความสามารถในการอ่านภาษา อังกฤษหลังการทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลอง 2. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้กลวิธีคิว เอ อาร์ มีเจตคติในการเรียนภาษาอังกฤษ หลังการทดลอง เท่ากันกับก่อนการทดลองen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf7.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.