Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69320
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Prof. Dr. Phasina Tangchuang | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Voravidh Chareonloet | - |
dc.contributor.advisor | Assoc. Prof. Dr. Phetcharee Rupavijetra | - |
dc.contributor.author | Supat Chupradit | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-04T06:14:10Z | - |
dc.date.available | 2020-08-04T06:14:10Z | - |
dc.date.issued | 2011-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69320 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were 1) to study the management system context of vocational education in order to create a model of personal dual-development, and to study the effects of the development model. The research was conducted in the form of Research and Development (R&D), and was divided into three phases, as follows: Phase 1: Studying the context of vocational education dual management system in schools and workplaces; Phase 2: Formulating personal development model; and Phase 3: Studying the applications of personal dual-development model to promote desirable skills of vocational students. The samples used in this study consisted of four groups including 1) the samples used in the study of vocational education dual management system context in schools and workplaces which were teachers in schools, vocational students, and training teachers in workplaces; this samples made up 465 people and were investigated using questionnaires; 2) the samples used in creating of a personal development model including educational academics, supervisors or experienced teachers, human resources developers; this samples made up 21 people and were investigated using questionnaires; 3) the samples used in evaluating the model including teachers in schools and training teachers in workplaces; this samples made up 40 people and were investigated using questionnaires; and 4) the sample used to test the personal development model including 30 training teachers in 50 workplaces of industrial technicians in Chiang Mai and Lamphun; the tools used with this group of samples was short training process manual, test, attitude test, and satisfaction evaluation. The results were as follows. The samples gave opinions about the conditions of vocational education operation in 8 aspects, which included public relation and coordination, project implementation, curriculum, medium of instruction and facilities, human resources (personnel), learning and teaching management, measurement and evaluation, and monitoring and supervision as a whole at a high level; however, when considering aspect by aspect, the human resources (personnel) aspect received a moderate level, that was, teachers in schools, vocational students in dual system, and training teachers in workplaces lacked understanding about the Three Logics of Skills concept, which were the cognitive skills, technical skills, and behavioral skills. The samples accounted the model of personnel development through dual vocational training to promote desirable skills of vocational students that the desired attributes needed and the instruments used to develop personnel through dual vocational training to promote desirable skills of vocational students consisted in the model included 3 features, 33 attributes: the personality feature included 10 attributes, the moral feature included 13 attributes, whereas the academic and professional feature included 10 attributes. The methods used to develop those three features included short training, job training for skills improvement, and job introduction training. The implementation results of the model of personnel development through dual vocational training to promote desirable skills of vocational students revealed that teachers who participated in the training were more knowledgeable and understanding after the experiment that before and this was different at a statistical significance level of .01; whereas the training teachers had some attitudes towards the training after the experiment than before and were satisfied by the training at a high level. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Model of Personnel Development Through Dual Vocational Training to Promote Desirable Skills of Vocational Students | en_US |
dc.title.alternative | รูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคีเพื่อส่งเสริม ทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ประกอบด้วย เพื่อศึกษาสภาพบริบทการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคี และเพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาบุคลากร ดำเนินการวิจัยในลักษณะการวิจัยและพัฒนา โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพบริบทการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาและสถานประกอบการ ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการพัฒนาบุคลากรและระยะที่ 3 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคีเพื่อส่งเสริมทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำแนกเป็น 4 กลุ่มได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาบริบทการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาและสถานประกอบการ ประกอบด้วย ครูผู้สอนในสถานศึกษา นักศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และครูฝึกในสถานประกอบการ รวมจำนวน 465 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสร้างรูปแบบการพัฒนาบุคลากรฯ ประกอบด้วย นักวิชาการทางการศึกษา ศึกษานิเทศก์หรือครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญ และนักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมจำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินรูปแบบ ประกอบด้วยครูผู้สอนในสถานศึกษา และครูฝึกในสถานประกอบการ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วยครูฝึกในสถานประกอบการประเภทช่างอุตสาหกรรม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ ชุดคู่มือกระบวนการฝึกอบรมระยะสั้น แบบทดสอบ แบบวัดเจตคติและแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยสรุปดังนี้ กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นเกี่ยวกับการสภาพการดำเนินงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ใน 8 ด้าน ได้แก่ ด้านการประชาสัมพันธ์และประสานงาน ด้านการดำเนินโครงการ ด้านหลักสูตร ด้านสื่อการเรียนการสอนและอาคารสถานที่ ด้านบุคลากร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล และด้านการนิเทศติดตามผล โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นเมื่อพิจารณารายด้าน ด้านบุคลากร อยู่ในระดับปานกลาง กล่าวคือ ครูผู้สอนในสถานศึกษา นักศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และครูฝึกในสถานประกอบการ ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดตรรกะทางทักษะ 3 มิติ ได้แก่ ทักษะด้านพุทธพิสัย ทักษะด้านเทคนิค และทักษะด้านพฤติกรรม รูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคีเพื่อส่งเสริมทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า คุณลักษณะที่ต้องการจำเป็นและวิธีการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคีเพื่อส่งเสริมทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา มีองค์ประกอบของรูปแบบ 3 ด้าน 33 คุณลักษณะ คือ ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วย 10 คุณลักษณะ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ประกอบด้วย 13 คุณลักษณะและด้านวิชาการและวิชาชีพ ประกอบด้วย 10 คุณลักษณะ โดยวิธีที่ใช้ในการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณลักษณะ 3 ด้าน ได้แก่ การฝึกอบรมระยะสั้น การฝึกงานเพื่อเพิ่มพูนทักษะและการฝึกอบรมเพื่อแนะนำงาน ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาบุคลากรแบบทวิภาคีเพื่อส่งเสริมทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา พบว่า ครูฝึกผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ หลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลองแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และครูฝึกมีเจตคติต่อการฝึกอบรม หลังการทดลองมากกว่าก่อนการทดลอง และมีความพึงพอใจในการฝึกอบรมอยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.