Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Saranya Savetamalya-
dc.contributor.authorPanupong Intawongen_US
dc.date.accessioned2020-08-04T00:39:09Z-
dc.date.available2020-08-04T00:39:09Z-
dc.date.issued2016-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69302-
dc.description.abstractThe purpose of this paper was to study the use of metaphors of war in the political news in the Matichon daily newspaper. In terms of data collection, the lexical items for investigation were selected from selected issues of the Matichon daily newspaper as they have appeared in headlines and leads-in as well as in the content of articles reporting political news. The issues selected run from September 1, 2013 to March 31, 2014. This timeframe was chosen due to the fact that there were several interesting political situations in Thailand during this period of time. For example, the presentation of the government’s amnesty bill, the announcement of the dissolution of Parliament, the calling for a no-confidence debate by the opposition Democrat Party, the management of the general election, protests against the government by the People’s Democratic Reform Committee (PDRC), and the mass rally of the United Front of Democracy against Dictatorship (UDD). The analysis used in the study was based on Lakoff and Johnson’s theory. Domain mapping was also presented on how the two domains of information, the source domain and the target domain, were connected when they were used in political news. The results of the study revealed forty-seven political words which expressed conceptual metaphors of war. The selected words were categorized into seven main themes and each main theme was further sub-divided into different sub-classes. The first theme was “WAR IS A PERSON”. This conceptual metaphor of war was personified as a human being. In addition, this theme was sub-divided into five different sub-classes; War is Representative, War is Leader, War is Supporter, War is Assembly and War is Opponent. The second theme was “WAR IS A LOCATION”. This conceptual metaphor of war was compared to a location. In addition, this theme was sub-divided into two different sub-classes; War is Head Quarters and War is a Battle Field. The third theme was “WAR IS TACTICS”. This conceptual metaphor of war was compared to tactics. In addition, this theme was sub-divided into three different sub-classes; War is Strategy, War is Expansion and War is Replacement. The fourth theme was “WAR IS WEAPONRY”. This conceptual metaphor of war was compared to weaponry. The fifth theme was “WAR IS VERBAL ACTIVITIES”. This conceptual metaphor of war expressed verbal activities related to war. In addition, this theme was sub-divided into five different sub-classes; War is Criticism, War is an Argument, War is an Announcement, War is Punishment and War is Command. The sixth theme was “WAR IS PHYSICAL ACTIVITIES”. This metaphor of war expressed physical activities related to war. In addition, this theme was sub-divided into three different sub-classes; War is Fighting, War is Mobilization and War is Occupancy. The seventh theme was “WAR IS AN OUTCOME”. This conceptual metaphor of war expressed the outcome of war. In addition, this theme was sub-divided into three different sub-classes; War is Pain, War is Defeat and War is Conquest.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleMetaphor of War in Thai Political News in Matichon Daily Newspaperen_US
dc.title.alternativeอุปลักษณ์แห่งสงครามของข่าวการเมืองในหนังสือพิมพ์มติชน รายวันen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปลักษณ์แห่งสงครามของข่าวการเมืองในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยคำศัพท์ที่ใช้ในการศึกษามาจากข่าวการเมืองที่นำเสนอในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน จากบทพาดหัวข่าว บทนำเข้าสู่ข่าว และเนื้อหาของข่าว ในระหว่างวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๗ เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวได้เกิดเหตุการณ์ทางการเมืองที่น่าสนใจขึ้นในประเทศไทยอย่างกว้างขวาง อาทิ การนำเสนอพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม การประกาศยุบสภาผู้แทนราษฏร การยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล การจัดการเลือกตั้งทั่วไป การชุมนุมประท้วงรัฐบาลของคณะกรรมการประชาชนเพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (กปปส.) และการชุมนุมปกป้องรัฐบาลของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) การศึกษาอุปลักษณ์แห่งสงครามของข่าวการเมืองในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีของ เลคอฟและจอห์นสัน (๒๕๒๓) และได้ทำการแสดงภาพถ่ายโยงความหมายของสงครามจากต้นทางไปสู่ความหมายปลายทาง ผลการศึกษาสรุปได้ว่า อุปลักษณ์แห่งสงครามของข่าวการเมืองในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ในช่วงเวลาดังกล่าว พบอยู่ทั้งหมด ๔๗ คำ โดยผู้วิจัยได้ทำการแบ่งกลุ่มคำออกเป็น ๗ หัวข้อหลัก โดยในแต่ละหัวข้อหลัก แบ่งออกเป็นหัวข้อย่อยต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นภาพของอุปลักษณ์แห่งสงครามได้อย่างชัดเจน ดังนี้ หัวข้อหลักที่ ๑ “สงครามเป็นบุคคล” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับสงครามแล้วนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๕ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็นผู้แทน สงครามเป็นผู้นำ สงครามเป็นพันธมิตร สงครามเป็นสมัชชา และสงครามเป็น ปรปักษ์ หัวข้อหลักที่ ๒ “สงครามเป็นสถานที่” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับสถานที่ที่ เกี่ยวข้องกับสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๒ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็น กองบัญชาการ และสงครามเป็นสนามรบ หัวข้อหลักที่ ๓ “สงครามเป็นยุทธวิธี” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับวิธีทางการรบในสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๓ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็นยุทธศาสตร์ สงครามเป็นการขยายอาณาเขต และสงครามเป็นการแทนที่ หัวข้อหลักที่ ๔ “สงครามเป็นศาสตราวุธ” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับอาวุธที่ใช้ในสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง หัวข้อหลักที่ ๕ “สงครามเป็นวิวาทะ” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับวิวาทะด้านสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๕ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ สงครามเป็นการโต้แย้ง สงครามเป็นการประกาศ สงครามเป็นบทลงโทษ และสงครามเป็นการสั่งการ หัวข้อหลักที่ ๖ “สงครามเป็นการกระทำ” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับการกระทำที่เกี่ยวข้องกับสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๓ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็นการต่อสู้ สงครามเป็นการเคลื่อนพล และสงครามเป็นการยึดครอง หัวข้อหลักที่ ๗ “สงครามเป็นผลลัพธ์” หมายถึงกลุ่มคำที่มีความหมายเกี่ยวกับผลลัพธ์จากสงครามแล้วถูกนำมาใช้ในข่าวการเมือง โดยแบ่งออกเป็น ๓ หัวข้อย่อย คือ สงครามเป็นความเจ็บปวด สงครามเป็นความพ่ายแพ้ และสงครามเป็นชัยชนะen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.