Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLecturer Dr. Apinya Fuengfusakul-
dc.contributor.advisorAssistant Professor Dr. Chusak Wittayapak-
dc.contributor.advisorLecturer Dr. Amporn Jirattikorn-
dc.contributor.authorArratee Ayuttacornen_US
dc.date.accessioned2020-08-04T00:38:13Z-
dc.date.available2020-08-04T00:38:13Z-
dc.date.issued2014-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69291-
dc.description.abstractThis thesis examines a particular form of affect that female flight attendants produce to create social and economic value for airline company. It aims to explore how this affect is produced and circulated under national values, cultural discourse, and dominant gender ideology in Thai society. Another question to be scrutinized in the study is how flight attendants relocate themselves from the dominant powers. Under this regard, the concept of affective economy is employed to understand the linkage between emotion and society at large. In addition, the notion of “disciplined body” and “bio-power” are applied to explain how female flight attendants maintain their beautiful appearance to satisfy the organization and customers’ expectation. The thesis applies the notion of the “circuit of culture” to explain how representations construct meaning in production and consumption process. The image of the female flight attendant in Thai costume symbolically portrayed in airline advertisements is analyzed to disclose the meaning hidden in cultural discourse. Female flight attendants’ bodies are the sites of political, economic and cultural transformation. This “political body” is not only shaped by capitalist disciplines; they are also the sites of resistance. Moreover, I employ “everyday life practice” to explain the construction of new form of identity in order to negotiate with dominant powers. As the insider, I propose self-reflexive ethnography as methodological approach to reduce the effects of researcher. My study relies on in-depth interview of ten female flight attendants in various categories of age and position. The data is also gathered from participation observation by following short and long-route flight and engaging with their activities. Since I focus on body experiences of flight attendants, narrative analysis is employed to understand how flight attendants construct their identities and subjectivity through narrative. The study reveals that ‘winyann’ as a spirit of professionalism is a particular form of affect circulated between female flight attendants, colleagues, and customers. This kind of affect accumulates through body experiences and communicates within female flight attendants society. Winyann is essential form of affect that creates social and economic value for the study airline. Paradoxically, winyann is produced from the capitalist discipline namely organizational regulation and cultural discourses. At the same time and space, this winyann is deployed as coping strategy to constitute new agency in order to relocate the dominant powers. It mediates female flight attendants’ mind, body, and soul to transcend from the suffering experiences.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleBody Politics and Affective Performance of Female Flight Attendantsen_US
dc.title.alternativeการเมืองเรื่องร่างกาย และปฏิบัติการทางด้านอารมณ์ของพนักงานต้อนรับ หญิงบนเครื่องบินen_US
dc.typeThesis
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาการสร้างรูปแบบเฉพาะทางอารมณ์ ของพนักงานต้อนรับหญิงบน เครื่องบิน เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมสำหรับสายการบิน วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อตรวจสอบว่ารูปแบบทางอารมณ์นี้ได้ถูกสร้าง และมีการสื่อสารภายใต้ค่านิยม ของความเป็นชาติ วาทกรรมทางวัฒนธรรม และบรรทัดฐานทางเพศในสังคมไทย คำถามที่จะต้องพิจารณาในการ ศึกษานี้คือการที่พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินปรับตัวเอง ให้เข้ากับกำหนดกฎเกณฑ์ของอำนาจ ดังกล่าวอย่างไร ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดของเศรษฐกิจอารมณ์ มาอธิบายเพื่อทำความเข้าใจ ความเชื่อมโยง ระหว่างอารมณ์และบริบททางสังคม นอกจากนี้ยังนำแนวคิดของการจัดระเบียบร่างกาย และ “ไบโอพาวเวอร์” มาใช้เพื่ออธิบายวิธีการที่พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินรักษารูปร่างที่สวยงาม เพื่อตอบสนองความคาดหวังขององค์กร และผู้โดยสาร นอกจากนี้ผู้วิจัยได้อธิบายการสร้าง ความหมายในกระบวนการการผลิต และการบริโภคภาพตัวแทนโดยใช้แนวคิด “วงจรทางวัฒนธรรม” โดยการวิเคราะห์นี้ จะเปิดเผยความหมายที่ซ่อนอยู่ในวาทกรรมทางวัฒนธรรม จากภาพลักษณ์ ของแอร์โฮสเตสในชุดไทยที่ปรากฏอยู่ในโฆษณาของสายการบิน ร่างกายของพนักงานต้อนรับหญิง บนเครื่องบินนั้นเป็นพื้นที่เปลี่ยนผ่านของการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ร่างกายไม่ได้เป็น เพียงแค่พื้นที่ของการครอบงำจากทุนนิยมเท่านั้น แต่ยังเป็นพื้นที่ของการต่อต้านด้วย นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังใช้แนวคิด “ปฏิบัติการในชีวิตประจำวัน” เพื่ออธิบายถึงการสร้างตัวตนรูปแบบใหม่ เพื่อที่จะต่อรองกับอำนาจที่มีอิทธิพลนั้น ผู้วิจัยใช้การครุ่นคิดคำนึงถึงตำแหน่งแห่งที่ ของตนเอง (self-reflexive ethnography) เป็นวิธี วิทยาทางชาติพันธุ์วรรณนา เพื่อที่จะลดผลกระทบจากผู้วิจัยในฐานะที่เป็นคนใน และในการศึกษานี้ ต้องอาศัยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินสิบคน ที่มีอายุและตำแหน่ง แตกต่างกัน นอกจากนี้การรวบรวมข้อมูล ยังได้จากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมจากเที่ยวบินใน เส้นทางระยะสั้นและระยะยาว และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมอื่นๆ ของพนักงานต้อนรับหญิง เนื่องจากงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่ประสบการณ์ทางร่างกาย ของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบิน ผู้วิจัยได้ใช้การวิเคราะห์เรื่องเล่า เพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินสร้าง อัตลักษณ์ใหม่และตัวตน ผ่านการเล่าเรื่องอย่างไร การศึกษาพบว่า “วิญญาณ” ในฐานะที่เป็นแก่นแกนของความเป็นมืออาชีพ เป็นรูปแบบ เฉพาะของอารมณ์ มีผลต่อการสื่อสารระหว่างพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินหญิง ผู้ร่วมงาน และผู้โดยสาร การสร้างอารมณ์นี้เกิดจากการสะสมประสบการณ์ผ่านร่างกาย และการสื่อสาร ในสังคมของพนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบิน “วิญญาณ” เป็นรูปแบบที่สำคัญ ในการสร้าง มูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของสายการบิน อย่างไรก็ตามกระบวนการสร้าง “วิญญาณ” นั้นมี ความย้อนแย้งเนื่องจากเป็นผลผลิตจากการจัดระเบียบของทุนนิยม ได้แก่ กฎระเบียบขององค์กร และวาทกรรมทางวัฒนธรรม แต่ในเวลาและพื้นที่เดียวกันนี้ พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินใช้ “วิญญาณ” ในการสร้างตัวตนและเพื่อที่จะต่อรองกับอำนาจนั้น นอกจากนี้ “วิญญาณ” ยังเป็นตัวกลาง ในการประสานร่างกาย ความคิด และจิตวิญญาณเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะหลุดพ้นจากความยากลำบาก ที่เกิดจากการทำงานen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.