Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวริษา วิสิทธิพานิช-
dc.contributor.authorปิยะ เฮงมีชัยen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T08:34:24Z-
dc.date.available2020-08-03T08:34:24Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69274-
dc.description.abstractThis research aims to solve door assigning and sequencing in a multiple inbound and outbound door cross docking problem to minimize the total earliness and the total tardiness according to Just-In-Time concept. In this study, a mathematical model is developed and solved with LINGO solver in order to find the optimal solution for each objective. The results show that LINGO can find the optimal solutions in small to medium size problem. However, with some limitations, LINGO is not able to attain solutions with multiple objectives simultaneously. Moreover, LINGO could not find solutions in large-scale problem within acceptable computing time. Consequently, this research proposes a metaheuristics called a particle swarm optimization (PSO) in order to deal with large-scale problems. Four encoding and decoding strategies are developed for assigning and scheduling inbound trucks and outbound trucks in order to find quality non-dominate solutions. The numerical experiments of 30 generated instances,varied by problem sizes: small to very large-scale problems, illustrate that PSO show its efficiency in finding Pareto solutions (non-dominate solutions). PSO is able to find optimal or near optimal solution compared with solutions obtained by LINGO. Moreover, PSO can find several non-dominated solutions in a single run within reasonable time. This will be beneficial to final users or decision makers to select a solution based on their preference. The linkage of distribution networks with cross docking and truck sequencing is able to increase the performance and reliability of network due to the uncertainty of lead time of original distribution network.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอนุภาคen_US
dc.subjectรับส่งสินค้าen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคแบบหลายวัตถุประสงค์สำหรับปัญหาการกำหนดประตูและจัดลำดับท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าแบบหลายประตูรับส่งสินค้าen_US
dc.title.alternativeApplication of multi-objective particle swarm optimization for door assigning and sequencing in multi-door cross docking problemen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc658.5-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานโลจิสติกส์-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งสินค้า-
thailis.controlvocab.thashการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค-
thailis.manuscript.callnumberว 658.5 ป3611ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการแก้ปัญหาการกำหนดประตูและจัดลำดับรถบรรทุกในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าแบบหลายประตูรับส่งสินค้าโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดเวลาล่าช้า (Tardiness) และเวลาเสร็จก่อน (Earliness) ให้มากที่สุด ตามแนวคิดแบบทันเวลาพอดี (Just-In-Time, JIT) แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับปัญหาการกำหนดประตูและจัดลำดับรถบรรทุกในท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าแบบหลายประตูรับส่งสินค้าได้ถูกพัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้และนำไปทำการแก้ไขโดยโปรแกรม LINGO เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดในแต่ละวัตถุประสงค์ ผลที่ได้คือ LINGO สามารถหาคำตอบที่ดีที่สุดได้ในปัญหาขนาดเล็กและขนาดกลาง แต่เนื่องจากข้อจำกัดของโปรแกรม LINGO ที่ไม่สามารถหาคำตอบแบบหลายวัตถุประสงค์ได้พร้อมๆ กัน และไม่สามารถแก้ปัญหาที่มีขนาดใหญ่ได้ในเวลาที่เหมาะสม ดังนั้นงานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนาวิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค (Particle Swarm Optimization, PSO) เพื่อให้สามารถหาคำตอบที่ได้ในปัญหาที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้น วิธีการแปลคำตอบ (Encoding/Decoding) 4 วิธีซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักคือ ส่วนรถขาเข้า (Inbound Truck) และรถขาออก (Outbound Truck)ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้ได้คำตอบหลายวัตถุประสงค์แบบพาเรโตซึ่งเป็นคำตอบไม่ถูกครอบงำ (Non-dominated Solutions) อย่างมีคุณภาพ ผลจากการทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค (Particle Swarm Optimization, PSO) กับปัญหาตัวอย่างที่ทำการสร้างขึ้นจำนวน 30 ปัญหา ที่มีขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ่มาก พบว่า PSO สามารถหาคำตอบหลายวัตถุประสงค์แบบพาเรโตได้อย่างประสิทธิภาพ เนื่องจาก PSO สามารถหาคำตอบใกล้เคียงกับค่าที่ดีที่สุดเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากโปรแกรม LINGO นอกจากนี้ PSO ยังสามารถหาชุดคำตอบที่ไม่ถูกครอบงำ (Non-Dominated Solutions) ได้หลากหลายคำตอบภายในเวลาที่รวดเร็ว ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานจริงหรือผู้ตัดสินใจในการเลือกใช้คำตอบที่เหมาะสมไปใช้ในการกำหนดประตูและจัดลำดับรถบรรทุกเพื่อเชื่อมโยงระหว่างโครงข่ายการกระจายสินค้าที่มีท่าเปลี่ยนถ่ายสินค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของระบบโครงข่ายการกระจายสินค้า สืบเนื่องมาจากความไม่แน่นอนของเวลานำในระบบการกระจายสินค้าแบบดั้งเดิมen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.