Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69266
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี-
dc.contributor.authorวาฑิต พุทธปวนen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T07:39:43Z-
dc.date.available2020-08-03T07:39:43Z-
dc.date.issued2015-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69266-
dc.description.abstractThe objective of this work was to redesign rocket- and shower-type burners used in small scale ceramic kilns to allow the utilization of Compressed Biomethane Gas (CBG) as Liquefied Petroleum Gas (LPG) substitution. The mixing nozzle size was varied between 0.8 mm and 2.0 mm, the pressure range adjusted to 1-10 psi at different conditions of air inlet section area. (Physical flame) Data collection includes ignition characteristics, flame color and shape for comparison between CBG and LPG fuel. The optimal venturi size of rocket-type nozzle was 1.4 mm with 5 psi inlet pressure and 45% air inlet area. The optimal shower-type nozzle size was also 1.4 mm, pressure of 5 psi and the air inlet area set around 50% of normal operation. The test results in a ceramic kiln (0.1 m3) for rocket- and shower-type were found that using CBG replaces of LPG can be saved the cost about 27.92% and 29.73% respectively. The burner fuel consumption for the CBG of rocket- and shower-type venturi are measured to be 0.333 ± 0.003 kg/hr. and 0.330 ± 0.010 kg/hr. The thermal efficiency of the modified rocket- and shower-type CBG burners tested according to EN 203-2: 1995 standard are 55.76 ± 1.31% and 52.87 ± 1.20% respectively compared to 52.48 ± 0.16% and 53.48 ± 2.04% achieved from LPG burners.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้ก๊าซไบโอมีเทนอัดกับหัวเผาก๊าซหุงต้มที่มีอยู่ในเตาเผาแบบชัตเติลในอุตสาหกรรมเซรามิกen_US
dc.title.alternativeUtilization of Compressed Biomethane Gas with Existing Liquefied Petroleum Gas Burner of Shuttle Kiln in Ceramic Industryen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับแต่งอุปกรณ์หัวเผาเวนทรูรี่แบบจรวดและแบบฝักบัวที่ใช้ในเตาเผาเซรามิกให้สามารถใช้ก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ที่มีก๊าซมีเทนเป็นองค์ประกอบประมาณ 85% เพื่อทดแทนการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ในปัจจุบัน โดยทำการปรับแต่งหัวฉีดก๊าซขนาดตั้งแต่ 0.8 - 2.0 มิลลิเมตร ปรับแรงดันก๊าซตั้งแต่ 1-10 psi และช่องปรับอากาศ เพื่อสังเกตการจุดติดไฟ สีเปลวไฟ ลักษณะเปลวไฟต้องมีความเสถียรและใกล้เคียงกับ LPG เพื่อเปรียบเทียบกับการใช้ LPG เป็นเชื้อเพลิง พบว่าหัวเผาเวนทรูรี่แบบจรวดที่มีการปรับแต่งหัวฉีดเป็น 1.4 มิลลิเมตร ที่แรงดัน 5 psi และช่องอากาศอยู่ในช่วงประมาณ 45% ของช่องปรับอากาศที่ทำให้ไฟจุดติด และหัวเผาเวนทรูรี่แบบฝักบัวที่มีการปรับแต่งหัวฉีดเป็น 1.4 มิลลิเมตร ที่แรงดัน 5 psi และช่องอากาศอยู่ในช่วงประมาณ 50% ของช่องปรับอากาศที่ทำให้ไฟจุดติด จะมีลักษณะเปลวไฟ สีเปลวไฟใกล้เคียงกับการใช้ LPG เป็นเชื้อเพลิง โดยเมื่อทำการทดสอบเผาเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกภายในเตาเผาแบบชัตเติลขนาด 0.1 ลบ.ม. พบว่าเมื่อเปลี่ยนเชื้อเพลิงจาก LPG เป็น CBG ของหัวเผาเวนทรูรี่แบบจรวดและแบบฝักบัวสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเผาเคลือบผลิตภัณฑ์ต่อครั้งประมาณ 27.92% และ 29.73% ซึ่งค่าอัตราการใช้เชื้อเพลิงก๊าซไบโอมีเทนของหัวเผาเวนทรูรี่แบบจรวดและแบบฝักบัวอยู่ที่ 0.333 ± 0.003 kg/hr. และ 0.330 ± 0.010 kg/hr. ตามลำดับ จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพเชิงความร้อนของหัวเผาทั้ง 2 แบบกับ LPG และ CBG ที่มีการปรับแต่งเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงความร้อนตามมาตรฐาน EN 203-2:1995 พบว่าประสิทธิภาพเชิงความร้อนของหัวเผาเวนทรูรี่แบบจรวดและแบบฝักบัวเมื่อใช้ CBG เป็นเชื้อเพลิงคือ 55.76 ± 1.31% และ 52.87 ± 1.20% เปรียบเทียบกับเมื่อใช้ LPG เป็นเชื้อเพลิงคือ 52.48 ± 0.16% และ 53.48 ± 2.04% ตามลำดับen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf7.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.