Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69263
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.อรรถพล สมุทคุปติ์ | - |
dc.contributor.author | กรณ์พงษ์ อึงสถิตย์ถาวร | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-03T07:38:54Z | - |
dc.date.available | 2020-08-03T07:38:54Z | - |
dc.date.issued | 2015-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69263 | - |
dc.description.abstract | This research aims to solve a Train Scheduling Timetabling Problem of Northern path in Thailand by rescheduling arrival and departure time of all trains to find the minimum travelling time within a reasonable solving time while satisfying all constraints. Research methodology consists of four phases. The first phase is analyze and create a running time in each rail section for all train types from Bangkok Station to Chiang Mai Station, including a branch rail to Sawankalok Station, and define a section’s velocity limit which consist of 260 sections. Following that, the mathematical model was created and those equations and numbers were turns into the expression of Lingo language to find a optimal solution, but this mathematical model is capable of small cases. The next phase was to apply the Particle Swarm Optimization technique to rescheduling timetabling in a larger problem scale and coding a whole algorithm by using the VC# program. Afterward, a simulation model was built by using Arena program for simulation of unstable factors, also including a probability of locomotive break down, and it’s repairing time as well as uncertain factors regarding stop time at station sections along the route. The simulation result showed that mean time for each trains which using the Particle Swarm Optimization technique is 353.86 minutes when compared with average times from present timetables was 398.20 minutes, which was reduced 11.14%. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้วิธีการหาค่าที่เหมาะสมที่สุด แบบฝูงอนุภาคในการจัดตารางเวลารถไฟ | en_US |
dc.title.alternative | Application of Particle Swarm Optimization Approach for Train Scheduling | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางเวลารถไฟในเส้นทางสายเหนือ โดยทำการจัดตารางเวลาการเข้า – ออกของรถไฟที่มีความเหมาะสมเพื่อให้ได้เวลาในการเดินทางที่น้อยที่สุดภายใต้สมการข้อจำกัดต่างๆ โดยวิธีวิจัยนั้นแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนแรกทำการสร้างข้อมูลระยะเวลาการเคลื่อนที่ของรถไฟในแต่ละพื้นที่จากสถานีรถไฟกรุงเทพ ถึง สถานีรถไฟเชียงใหม่ รวมถึงทางแยกไปสวรรค์โลก และ ทำการกำหนดขีดจำกัดความเร็วในแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีจำนวนรางทั้งหมด 260 ราง หลังจากนั้นเป็นการสร้างสมการทางคณิตศาสตร์ และ เปลี่ยนสมการเหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบ ของโปรแกรมการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด (โปรแกรม LINGO) แต่โปรแกรม LINGO สามารถแก้ปัญหาได้เพียงกรณีเล็กๆเท่านั้น ขั้นตอนต่อมาคือ การประยุกต์ใช้วิธีการหาค่าที่ดีที่สุดแบบฝูงอนุภาคในการแก้ปัญหาที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมา ซึ่งเขียนโดยโปรแกรม VC# และ หลังจากนั้นจึงใช้โปรแกรมการจำลองสถานการณ์ (โปรแกรม ARENA) ในการจำลองสถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนเช่น การเสียหายของหัวจักร,เวลาในการซ่อม และเวลาในการจอดที่ไม่แน่นอนของปัจจัยต่างๆ ในแต่ละสถานี เป็นต้น ซึ่งผลลัพธ์ของค่าเฉลี่ยเวลาที่รถไฟแต่ละขบวนอยู่ในระบบ ที่ได้จากการจำลองสถานการณ์กรณีตารางเวลาที่ได้จากการประยุกต์ใช้วิธีที่เหมาะสมที่สุดแบบฝูงอนุภาคคือ 353.86 ซึ่งลดจากการจำลองสถานการณ์จากกรณีตารางเวลาปัจจุบันมีค่าเฉลี่ย คือ 398.20 ซึ่งถือว่าค่าเฉลี่ยที่ได้โดยเฉลี่ยของแต่ละขบวนลดลง 11.14% | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 8.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.