Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69260
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.นริศรา เอี่ยมคณิตชาติ | - |
dc.contributor.author | กฤตคม ศรีจิรานนท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-03T07:38:40Z | - |
dc.date.available | 2020-08-03T07:38:40Z | - |
dc.date.issued | 2015-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69260 | - |
dc.description.abstract | This thesis presents recognition and classification algorithm for infant sounds. This algorithm has the highest accuracy comparing with other algorithms. The infant sounds used in this thesis are identified from an expert and there are 5 meanings including feeling hungry, feeling sleepy, feeling discomfort, having lower gas and needing to be burped. 251 data sets of infant sounds are tested in this thesis. The first process of algorithm used the popular feature extraction algorithm, i.e., Mel Frequency Cepatral Coefficients (MFCC), Perceptual Linear Prediction (PLP) and Relative Spectral (RASTA) for extract feature vectors from data set. Then, the data set is used in recognition and classification process. This process is divided into two parts. The first part, recognition, has three sub processes which are Neural Network, Data Normalization and Fuzzy Logic. The second part, classification, uses K-nearest Neighbor classifier. This thesis finds the appropriate structure from many experiments. The result shows that the proposed algorithm has higher accuracy in infant sound classification than other algorithms and has 86.25% accuracy. Moreover, this thesis designs experiments for using proposed algorithm with Thai words. In the experiment, there are many factors such as noise, pronunciation and number of words. The experimental result shows that the proposed algorithm has high accuracy in classification. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ระบบนิวโรฟัซซีเพื่อจำแนกเสียงร้องของเด็กทารก | en_US |
dc.title.alternative | Neuro-fuzzy System for Infant Cry Classification | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้นำเสนออัลกอริทึมเพื่อใช้ในการรู้จำและจำแนกเสียงร้องของเด็กทารกโดยมีประสิทธิภาพในการจำแนกที่ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับอัลกอริทึมอื่นๆ คือ ต้นไม้ตัดสินใจ นาอีฟเบย์ เกาส์เซียนมิกซ์เจอร์โมเดล และซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน สำหรับเสียงร้องของเด็กทารกที่ใช้ในวิทยานิพนธ์นี้นั้นได้รับการระบุความหมายโดยผู้เชี่ยวชาญไว้เรียบร้อยแล้ว โดยแบ่งความหมายออกเป็น 5 ความหมายคือ รู้สึกหิว อยากนอนหลับ รู้สึกไม่สบายตัว รู้สึกมีแก๊ส และอยากเรอ โดยมีจำนวนเสียงตัวอย่างทั้งหมด 251 เสียง ขั้นตอนการทำงานเริ่มจากนำไฟล์เสียงมาทำการสกัดค่าคุณลักษณะโดยใช้อัลกอริทึมที่ได้รับความนิยมคือ สัมประสิทธิ์เซปสตรัมบนสเกลเมล การประมาณพันธะเชิงเส้นแบบอิงการรับฟังและราสตา จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาผ่านกระบวนการรู้จำและจำแนกโดยจะแบ่งออก 2 ส่วนคือ ส่วนแรกคือการรู้จำซึ่งจะมีประกอบไปด้วยขั้นตอนย่อย 3 ขั้นตอนคือ โครงข่ายประสาทเทียม การนอร์มัลไลเซชันข้อมูล และฟัซซีโลจิก ส่วนที่สองคือการจำแนกโดยใช้วิธีการเคเนียเรสเนเบอร์ โดยจะทำการหาโครงสร้างของอัลกอริทึมที่เหมาะสมผ่านการทดลองส่วนต่างๆ ซึ่งผลการทดลองพบว่าโครงสร้างที่ออกแบบขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพในการจำแนกเสียงร้องของเด็กทารกได้ดีกว่าอัลกอริทึมในการจำแนกข้อมูลอื่นๆที่เลือกมาทดสอบ โดยมีประสิทธิภาพอยู่ที่ 86.25% นอกจากนั้นเมื่อนำอัลกอริทึมที่ได้ไปใช้ทดลองกับคำพูดอื่นๆในภาษาไทย ในการทดลองได้ทำการกำหนดปัจจัยต่างๆไม่ว่าจะเป็นประเภทของเสียงรบกวน การออกเสียง จำนวนคำ ผลพบว่าอัลกอริทึมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่ดีในการทำการจำแนก | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.