Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาส พัชนี-
dc.contributor.advisorอนุชา ศิริมาลัยสุวรรณ-
dc.contributor.advisorดวงพร พิชผล-
dc.contributor.authorดนัย สินธุยะen_US
dc.date.accessioned2020-08-03T07:27:15Z-
dc.date.available2020-08-03T07:27:15Z-
dc.date.issued2015-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69251-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to determine the prevalence and number of Salmonella contamination in swine breeding unit production system in upper-northern part of Thailand. Outcomes were compared between two different swine production patterns at farm level which were co-operative farm type and integrated commercial swine farms. The prevalence of Salmonella-contaminated sows were 32.69% and 25.00% (p-value>0.05), and the average Most Probable Number (MPN) of Salmonella contaminated were 2.08 LogMPN/g and 1.75 LogMPN/g in each type of farm, respectively. The prevalence of Salmonella in boars was detected at 25.00% and 37.50% (p-value>0.05) with an average 2.07 LogMPN/g and 2.44 LogMPN/g, respectively. The prevalence of Salmonella in piglets were 33.33% and 12.50% (p-value<0.05) with the MPN average at 2.01 LogMPN/g and 1.80 LogMPN/g, respectively. Feed is a risk factor of Salmonella contamination in breeding-swine farms. Feed from co-ooperative farm can cause Salmonella contamination 3 times from integrated commercial farm feed. (p-value=0.048, OR=3.17, 95%CI:1.01-9.97) This study showed swine breeding units were one of major source of Salmonella contamination in primary stage of swine production and may lead to contamination throughout the food chain. In order to minimize salmonellosis in human resulting from contaminated pork consumption, reduction of Salmonella contamination in swine breeding unit is also inevitably required.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการประเมินความเสี่ยงen_US
dc.subjectแบบจำลองความน่าจะเป็นen_US
dc.subjectการปนเปื้อนen_US
dc.subjectซัลโมเนลลาen_US
dc.subjectสุกรen_US
dc.subjectฟาร์มสุกรen_US
dc.titleการประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณและแบบจำลองความน่าจะเป็นของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้จากกระบวนการผลิตสุกรใน ฟาร์มแม่พันธุ์ เปรียบเทียบระหว่างฟาร์มสุกรในรูปแบบการเลี้ยงแบบสหกรณ์และฟาร์มสุกรในรูปแบบการเลี้ยงแบบครบวงจรในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeQuantitative risk assessment and probabilistic model of salmonella contaminated in swine Sow-Unit production comparing between Co-operative and integrated farm types in Upper-northern part of Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc664.001579-
thailis.controlvocab.thashซาลโมเนลลา-
thailis.controlvocab.thashจุลินทรีย์ในอาหาร-
thailis.controlvocab.thashสุกร -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashฟาร์มสุกร-
thailis.manuscript.callnumberว 664.001579 ด1511ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบความชุก และปริมาณการปนเปื้อนเชื้อ Salmonella ในฟาร์มสุกรพันธุ์ (Breeding unit) ระหว่างฟาร์มที่มีรูปแบบการเลี้ยงแบบสหกรณ์และครบวงจรในฟาร์มสุกรเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ความชุกของการติดเชื้อ Salmonella ในแม่พันธุ์ ที่มีรูปแบบการเลี้ยงแบบสหกรณ์ และครบวงจรมีค่า 32.69% และ 25.00% (p-value>0.05) และมีปริมาณเชื้อเฉลี่ยเท่ากับ 2.08 LogMPN/g และ 1.75 LogMPN/g ตามลำดับ ในขณะที่ความชุกของการติดเชื้อ Salmonella ในพ่อพันธุ์มีค่าเท่ากับ 25.00% และ 37.50% (p-value> 0.05) และมีปริมาณเชื้อเฉลี่ยเท่ากับ 2.07 LogMPN/g และ 2.44 LogMPN/g ความชุกของการติดเชื้อในลูกสุกรดูดนมอายุ 3 สัปดาห์เท่ากับ 33.33% และ 12.50% ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05) และมีปริมาณเชื้อเฉลี่ยเท่ากับ 2.01 LogMPN/g, 1.80 LogMPN/g ตามลำดับ และปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อ Salmonella ในฟาร์มสุกรพันธุ์จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า อาหารจากฟาร์มที่มีรูปแบบการเลี้ยงแบบสหกรณ์มีปัจจัยเสี่ยงเป็น 3 เท่าของอาหารในฟาร์มที่มีรูปแบบการเลี้ยงแบบครบวงจร (p-value=0.048, OR=3.17, 95% CI:1.01-9.97) การศึกษาครั้งนี้พบว่าในส่วนฟาร์มสุกรพันธุ์เป็นแหล่งหนึ่งที่สามารถก่อให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อ Salmonella ในช่วงต้นของการเลี้ยงสุกรได้ และสามารถนำไปสู่การปนเปื้อนเชื้อในห่วงโซ่อาหารต่อไป ดังนั้นการควบคุมหรือการลดปริมาณการปนเปื้อนเชื้อ Salmonella ในส่วนสุกรพันธุ์จึงมี ความจำเป็นเพื่อที่จะลดภาวะอาหารเป็นพิษจากเชื้อ Salmonella ในมนุษย์en_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.