Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69201
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ก้องภู นิมานันท์ | - |
dc.contributor.author | สราวุฒิ พุ่มพวง | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-31T00:48:11Z | - |
dc.date.available | 2020-07-31T00:48:11Z | - |
dc.date.issued | 2015-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69201 | - |
dc.description.abstract | The study of “Need of Members of Hua Dong Furniture Trading Community Enterprise, Sung Men District, Phrae Province Towards E-Commerce” The purpose of this study is to learn the needs of using E-Commerce .In addition ,142 questionnaires were all members. After the questionnaires were analyzed. Most respondenting never to use E- Commerce 104 persons and ever to use before 38 persons and most respondents have experience in business between 1-5 years and experience in business for over 15 years. Most of ever use E-Commerce, The highest frequency for the number of staff in a business is less than 10. Most of respondents invested between 100,000-500,000 baht in fixed asset. Most of respondents have income average less than 50,000 bath per month. A high percentage of respondent’s market is domestic, The respondents are mostly male, aged between 40-49 years old, and have a bachelor’s degrees, most respondent are owners of the business or entrepreneur. The knowledge of E-Commerce in the level of E-Commerce, All level has least mean score .The analysis of the needs for E-Commerce in SMEs showed that overall respondent has a medium mean score. The use of e-mail to communicate with customer has the highest mean score . SME need to use E-Commerce for business to customer (B to C) has a highest mean scores. In addition, the results found that most SME had not used E-Commerce. The major reason of not using it is size of business. They are small size.The second problem is the knowledge of E-Commerce has not enough. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความต้องการของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผู้ค้าเฟอร์นิเจอร์หัวดง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ต่อการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title.alternative | Need of Members of Hua Dong Furniture Trading Community Enterprise, Sung Men District, Phrae Province Towards E-Commerce | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยเรื่อง ความต้องการของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผู้ค้าเฟอร์นิเจอร์หัวดง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ต่อการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความต้องการของผู้ประกอบการซึ่งเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน การเก็บข้อมูลปฐมภูมิ คือ การใช้แบบสอบถามจำนวน 142 รายซึ่งเป็นสมาชิกของวิสาหกิจชุมชนทั้งหมด จากผลการศึกษาจากแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่กิจการของผู้ตอบแบบสอบถาม ยังไม่มีการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้จำนวน 104ราย ใช้แล้ว 38 ราย กิจการที่นำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นกิจการที่ดำเนินธุรกิจมาแล้ว 1-5ปี และมากกว่า 15 ปี กิจการที่มีการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในกิจการแล้ว มีพนักงาน ทั้งหมดไม่เกิน 10คนมากที่สุด และเงินทุนจดทะเบียน 100,000-500,000 บาทมากที่สุด กิจการมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 50,000 บาท มากที่สุด กิจการมีการขายสินค้า เฉพาะในประเทศมากที่สุด และ ส่วนมากผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายมากที่สุด อายุของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในช่วง 40-49 ปี ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามคือ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่ามากที่สุด และส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเจ้าของกิจการ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และ ระดับขั้นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกระดับขั้นอยู่ในระดับน้อยที่สุด และความต้องการของวิสาหกิจชุมชน กับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมมีความต้องการในทุกระดับ ขั้นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความต้องการในด้านการ ใช้อีเมลในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้ามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และต้องการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในแบบธุรกิจ กับผู้บริโภคมากที่สุด (B to C) นอกจากนี้สาเหตุส่วนใหญ่ที่กิจการไม่นำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในธุรกิจ คือ คิดว่าธุรกิจของผู้ตอบแบบสอบถามมีขนาดเล็ก และรองลงมา คือ กิจการยังไม่มีความรู้ เพียงพอเกี่ยวกับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ งานวิจัยเรื่อง ความต้องการของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนผู้ค้าเฟอร์นิเจอร์หัวดง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ต่อการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความต้องการของผู้ประกอบการซึ่งเป็นสมาชิกวิสาหกิจชุมชน การเก็บข้อมูลปฐมภูมิ คือ การใช้แบบสอบถามจำนวน 142 รายซึ่งเป็นสมาชิกของวิสาหกิจชุมชนทั้งหมด จากผลการศึกษาจากแบบสอบถามพบว่า ส่วนใหญ่กิจการของผู้ตอบแบบสอบถาม ยังไม่มีการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้จำนวน 104ราย ใช้แล้ว 38 ราย กิจการที่นำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นกิจการที่ดำเนินธุรกิจมาแล้ว 1-5ปี และมากกว่า 15 ปี กิจการที่มีการนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในกิจการแล้ว มีพนักงาน ทั้งหมดไม่เกิน 10คนมากที่สุด และเงินทุนจดทะเบียน 100,000-500,000 บาทมากที่สุด กิจการมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 50,000 บาท มากที่สุด กิจการมีการขายสินค้า เฉพาะในประเทศมากที่สุด และ ส่วนมากผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายมากที่สุด อายุของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในช่วง 40-49 ปี ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามคือ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่ามากที่สุด และส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเจ้าของกิจการ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และ ระดับขั้นของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกระดับขั้นอยู่ในระดับน้อยที่สุด และความต้องการของวิสาหกิจชุมชน กับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมมีความต้องการในทุกระดับ ขั้นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความต้องการในด้านการ ใช้อีเมลในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้ามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด และต้องการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในแบบธุรกิจ กับผู้บริโภคมากที่สุด (B to C) นอกจากนี้สาเหตุส่วนใหญ่ที่กิจการไม่นำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในธุรกิจ คือ คิดว่าธุรกิจของผู้ตอบแบบสอบถามมีขนาดเล็ก และรองลงมา คือ กิจการยังไม่มีความรู้ เพียงพอเกี่ยวกับการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.