Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.authorผุสดีภรณ์ กุมาพันธ์en_US
dc.date.accessioned2020-07-31T00:46:34Z-
dc.date.available2020-07-31T00:46:34Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69187-
dc.description.abstractThis research had the objectives of studying the behavior and satisfaction of teachers in Lamphun Primary Educational Service Area Office 2 who used the loan service from welfare for teachers and educational personnel loan scheme. Questionnaires were distributed to a total sample group of 250 teachers and educational personnel. The data was analyzed by descriptive statistics while the weight of satisfaction was measured using the Likert Scale. The study found that most of the sample population was female, married with an average age of 47 and they had served in the government for about 22 years, with a Bachelor’s Degree and they received a salary of 40,001 – 50,000 Bht. per month. They lived in their own home with their parents with an average of four people. The sample group held membership in the welfare loan for teachers for about 19 years. The loans were used mainly for paying debts. The loan amount was 1,091,600 Bht. per person on average with the average period of payment of 27 years at 6,731.36 Bht. per month. The average loan application was one time per member. The loan payment was deducted at the point of salary payment of their work unit. Most of the loan takers had to apply for a life insurance policy within 870,950.41 Bht. on average. They also served as a guarantor for about two other loan borrowers without getting any compensation. Most of the sample group never missed paying the loan payment or their debt. The sample was satisfied at a moderate level with the loan service in the welfare program. The highest satisfaction was concerning the loan to improve their quality of life and for their family members, followed by the suitability of the loan amount and the documents required for the loan respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมและความพึงพอใจของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ในการใช้บริการสินเชื่อ จากโครงการสวัสดิการเงินกู้ฌาปนกิจสงเคราะห์ช่วยเพื่อนครูและบุคลากรทางการศึกษา (ช.พ.ค.)en_US
dc.title.alternativeBehaviors and Satisfaction of Teachers in Lamphun Primary Educational Service Area Office 2 in Using Loan Service from Welfare for Teachers and Education Personnel Loan Schemeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจในการกู้เงินจากโครงการสวัสดิการเงินกู้ฌาปนกิจสงเคราะห์ช่วยเพื่อนครูและบุคลากรทางการศึกษา (ช.พ.ค.) ของข้าราชการครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด 250 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและการให้น้ำหนักของความพึงพอใจโดยใช้มาตราวัดของลิเคิทสเกล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 250 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สมรสแล้ว มีอายุเฉลี่ย 47 ปี อายุราชการเฉลี่ย 22 ปี ดำรงตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ มีคุณวุฒิการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 40,001-50,000 บาท และอาศัยอยู่ในบ้านของตนเอง/บิดามารดา มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิก ช.พ.ค.มาแล้วเป็นระยะเวลาเฉลี่ย 19 ปี ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ ในการกู้เงินเพื่อชำระหนี้สิน โดยมีวงเงินกู้ครั้งล่าสุดของสมาชิก ช.พ.ค. เฉลี่ยคนละ 1,091,600 บาท มีวงเงินกู้ครั้งนี้เฉลี่ยคนละ 1,076,600 บาท ผ่อนชำระการกู้เงินเป็นระยะเวลาเฉลี่ย 27 ปี และมีจำนวนเงินผ่อนชำระต่อเดือนเฉลี่ย 6,731.36 บาท มีจำนวนครั้งในการกู้เงิน (รวมครั้งนี้) เฉลี่ย 1 ครั้ง และ การผ่อนชำระหนี้ส่วนใหญ่เลือกวิธีการชำระคืนโดยการให้หน่วยงานต้นสังกัดหัก ณ ที่จ่าย ในการกู้เงิน ช.พ.ค. ส่วนใหญ่ทำประกันชีวิตโดยมีวงเงินเอาประกันเฉลี่ยคนละ 870,950.41 บาท กลุ่มตัวอย่างยังมีการค้ำประกันให้บุคคลอื่นในการกู้เงินโครงการช.พ.ค.เฉลี่ย 2 คน โดยไม่ได้รับค่าตอบแทนจากการค้ำประกันและกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีการผิดนัดชำระหนี้ กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในการใช้บริการสินเชื่อ ช.พ.ค.ในภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง โดยมีความพึงพอใจลำดับที่ 1 คือ สินเชื่อนี้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและบุคคลในครอบครัว รองลงมาคือด้านความเหมาะสมของวงเงินกู้ที่ได้รับและความเหมาะสมของเอกสารประกอบการยื่นกู้ตามลำดับen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.