Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc.Prof.Dr. Roengchai Tansuchat-
dc.contributor.advisorAsst.Prof.Dr. Prapatchon Jariyapan-
dc.contributor.advisorLect.Dr. Nuttamon Teerakul-
dc.contributor.authorVoeurn Nhaten_US
dc.date.accessioned2020-07-30T06:15:59Z-
dc.date.available2020-07-30T06:15:59Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69177-
dc.description.abstractThis study focuses on an analysis of rice production and contributions to Cambodian economic growth. There are three main objectives that are focused upon. First, it aims to analyze the situation of rice production in Cambodia using Diamond Model. Second, it investigates the factors that could impact on rice production and evaluates the rice export contributions to Cambodian economic growth. Third, it attempts to provide the best fitted ARIMA model that would be employed to make an accomplish forecast rice production in Cambodia. In the first objective, our study reveals that huge potential opportunities for Cambodian rice production expansion when comparing with neighboring countries (Thailand and Vietnam) and that Cambodian farmers can response to high prices and productivities by increasing their use of inputs such as seeds, fertilizers, irrigation, harvested area and machinery. In the second objective, this study uses ARDL model to analyze time series data over the period of 50 years (1961 - 2010) in order to examine the factors that affect rice production. We find that seeds, fertilizers, machinery, irrigation and harvested area have a positive effect on rice production in Cambodia. It also uses ARDL model to analyze time series data over the period of 15 years (1996 - 2011) to investigate the rice export contributions to Cambodian GDP growth. The results indicate that rice export has a significant and positive impact on Cambodian GDP growth. The third objective, the study also employs ARIMA model to analyze time series data over the period of (1960 - 2013) to examine the best ARIMA model that can be used to employ historical forecast rice production in Cambodia from 1960 to 2013. We find that the ARIMA (1, 1, 1) is the best fit model for forecasting rice production. This may suggest that Cambodian government should design a strategy that assists credit on machinery, irrigation, harvested area, seeds and fertilizers to farmers in order to increase rice production and promote economic growth by increasing rice export. Government also needs to pay close attention to make an investment strategy that stimulate rice production in Cambodia.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnalysis of Rice Production and Contributions to Cambodian Economic Growthen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์การผลิตข้าวและการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เน้นการวิเคราะห์ของการผลิตข้าวและการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจขอประเทศกัมพูชาโดยมีจุดประสงค์แบ่งออกเป็นสามประเด็นหลักอันดับหนึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตข้าวในประเทศกัมพูชาโดยใช้แบบจำลองเพชรอันดับที่สองคือตรวจสอบปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อการผลิตข้าวและประเมินผลของการส่งออกข้าวที่มีส่วนสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาอันดับที่สามมีจุดประสงด์เพื่อหาแบบจำลองของการพยากรณ์เออาร์เอเอมเอที่สุดที่ถูกใช้ในการพยากรณ์การผลิตข้าวในประเทศกัมพูชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในวัตถุประสงค์การศึกษาแรก การศึกษาของเราพบว่ามีโอกาสอย่างมากสำหรับการขยายการผลิตข้าวของกัมพูชาเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน (ไทยและเวียดนาม) และชาวนาของกัมพูชาสามารถตอบสนองต่อราคาและผลิตภาพสามารถผลิตที่สูงได้โดยการเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตเช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ชลประทาน พื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิต และเครื่องจักร ในวัตถุประสงค์การศึกษาที่สอง การศึกษานี้ใช้แบบจำลองเออาร์ดีแอลเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลาในช่วงเวลา 50 ปี (2504 - 2553) เพื่อตรวจสอบปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตข้าว เราพบว่า เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย เครื่องจักร ชลประทาน และพื้นที่เก็บเกี่ยวมีผลกระทบในทางบวกต่อการผลิตข้าวของประเทศกัมพูชา แล้วยังใช้แบบจำลองเออาร์ดีแอลในการวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงเวลา 15 ปี (2539 - 2554) เพื่อการตรวจสอบการส่งออกข้าวที่มีส่วนช่วยการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของประเทศกัมพูชา ผลการวิเคราะห์พบว่า การส่งออกข้าวมีผลกระทบทางบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ของประเทศกัมพูชา วัตถุประสงค์ที่สาม การศึกษายังใช้แบบจำลองเออาร์ไอเอมเอเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมในช่วงเวลา (2503 – 2556) เพื่อตรวจสอบรูปแบบจำลองเออาร์ไอเอมเอดีที่สุดที่สามารถถูกใช้เพื่อพยากรณ์ข้อมูลการผลิตข้าวในอดีตของประเทศกัมพูชาจาก 2503 ถึง 2556 เราพบว่า แบบจำลองเออาร์ไอเอมเอ (1, 1, 1) เป็นแบบจำลองดีที่สุดสำหรับการพยากรณ์ผลผลิตข้าว ผลการศึกษานี้ได้เสนอแนะว่า รัฐบาลของประเทศกัมพูชาควรออกแบบกลยุทธ์ที่สนับสนุนสินเชื่อด้านเครื่องจักร ชลประทาน พื้นที่เก็บเกี่ยว เมล็ดพันธุ์ และปุ๋ยแก่เกษตรกรเพื่อเพิ่มการผลิตข้าวและส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยการเพิ่มการส่งออกข้าว รัฐบาลยังต้องใส่ใจกับการทำให้กลยุทธ์การลงทุนที่สามารถช่วยกระตุ้นการผลิตข้าวในประเทศกัมพูชาen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.