Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Roengchai Tansuchat-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Prapatchon Jariyapan-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Nuttamon Teerakul-
dc.contributor.authorKontell Samonen_US
dc.date.accessioned2020-07-30T06:15:10Z-
dc.date.available2020-07-30T06:15:10Z-
dc.date.issued2014-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69172-
dc.description.abstractThis study uses SWOT matrix analysis and Porter’s diamond model to examine current challenges of rice export and its history in Cambodia. We find that Cambodian rice is strong in agricultural land and labor, premium rice quality, and duty-free from European Union. However, the country still faces some constraints from supporting industries such as high cost of logistics, poor infrastructure, poor milling technology, limited access to financial support, high transportation and electricity cost, high imported price of fertilizer, pesticide, and agricultural machinery. Rice competitiveness is also accessed. The market share analysis, and revealed comparative and competitive advantage are used for analysis tool. The result shows that Thailand and Vietnam are still the dominant rice exporter as occupying 40% of world rice market share. Meanwhile, for rice competitiveness, Vietnam is the top one as following by Myanmar and Cambodia. As formula are depending on a country’s share of total trade in the world market, if one country has a relatively large share of total trade than its total rice trade; so revealed comparative advantage will be relatively smaller. Rice export demand and supply are also estimated using Autoregressive Distributed Lag (ARDL) for Cambodian rice export over the period of 15 years (1997-2011). In the long run, world rice export price, rice export quantity in other countries, and two-lagged last period of rice export demand are significantly positive to export demand. While, export price and last period of rice export quantity in other countries are significantly negative to export demand. In short run, rice export price is significantly negative. And, rice export quantity in other countries is significantly positive. Speed of adjustment implies that 98% of the disequilibrium of the previous year’s shocks would adjust back to the long run equilibrium in the current year. Whereas, in the long run, domestic rice production is significantly positive to rice export supply. In short run, domestic rice product is significantly positive to rice export supply. Speed of adjustment is 98%.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleANALYSIS OF RICE EXPORT COMPETITIVENESS IN CAMBODIAen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันการส่งออกข้าวของกัมพูชาen_US
dc.typeThesis
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ใช้การวิเคราะห์สว๊อตเมทริกซ์และแบบจำลองเพชรของพ๊อตเตอร์เพื่อตรวจสอบความท้าทายในปัจจุบันของการส่งออกข้าวและประวัติศาสตร์ของการส่งออกข้าวในกัมพูชา เราพบว่าข้าวกัมพูชานั้นมีจุดแข็งในด้านที่ดินและแรงงานในภาคการเกษตร คุณภาพของข้าวที่ดี และปลอดภาษีนำเข้าจากสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตามประเทศยังคงเผชิญกับบางข้อจำกัดจากอุตสาหกรรมสนับสนุน เช่น ต้นทุนของโลจิสติกส์ที่สูง สาธารณูปโภคที่ยังไม่ดี เทคโนโลยีการสีที่ยังไม่ดี การเข้าถึงเหล่งสนับสนุนทางการเงินที่จำกัด ต้นทุนไฟฟ้าและการขนส่งที่สูง ราคาของปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และเครื่องจักรกลการเกษตรที่นำเข้าที่สูง ความสามารถในการแข่งขันของข้าวยังได้ถูกประเมิน การวิเคราะห์ส่วนแบ่งทางการตลาด และความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏและความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ไทยและเวียดนามยังคงเป็นประเทศผู้ส่งออกที่สำคัญคิดเป็นร้อยละ 40% ของส่วนแบ่งการตลาดข้าวของโลก ในขณะเดียวกันสำหรับความสามารถในการแข่งขันของข้าว เวียดนามเป็นอันดับหนึ่งตามด้วยพม่าและกัมพูชา เนื่องจากสูตรในการคำนวณนั้นขึ้นอยู่กับส่วนแบ่งของการค้ารวมของประเทศเทียบกับตลาดโลก ถ้าประเทศหนึ่งมีส่วนแบ่งของการค้ารวมโดยเปรียบเทียบมากกว่าปริมาณการค้าข้าวรวม ดังนั้นความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏจะมีค่าน้อยโดยเปรียบเทียบ อุปสงค์และอุปทานการส่งออกข้าวยังได้ถูกประมาณโดยใช้แบบจำลองออโตรีเกรสซีฟ ดิสตริบิวเทด เลกสำหรับการส่งออกข้าวของกัมพูชาในช่วงระยะเวลา 15 ปี 2540 - 2554 ในระยะยาว ราคาส่งออกข้าวของ โลก ปริมาณการส่งออกในประเทศอื่นๆ และอุปสงค์การส่งออกข้าวที่ล่าช้าสองคาบเวลาสุดท้ายมีนัยสำคัญทางบวกกับอุปสงค์การส่งออก ในขณะที่ราคาส่งออกและปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศอื่นในคาบเวลาสุดท้ายมีนัยสำคัญทางลบต่ออุปสงค์การส่งออกข้าว ในระยะสั้น ราคาส่งออกข้าวมีนัยสำคัญทางลบ และปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศอื่นมีนัยสำคัญทางบวก ความเร็วในการปรับตัวมีความหมายว่า 98% ของความไม่มีดุลดยภาพของช๊อคในปีก่อนหน้าจะถูกปรับให้กลับสู่ดุลยภาพในระยะยาวในปีปัจจุบัน ในขณะที่ในระยะยาวผลผลิตข้าวภายในประเทศมีนัยสำคัญทางบวกกับอุปทานการส่งออกข้าว ในระยะสั้นผลผลิตข้าวภายในประเทศมีนัยสำคัญต่ออุปทานการส่งออกข้าว โดยที่มีความเร็วในการปรับตัวคือ 98%en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.