Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ.ดร. อนัสปรีย์ ไชยวรรณ | - |
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ นิ่มอนุสสรณ์กุล | - |
dc.contributor.author | เจษฎา ไชยวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-28T02:47:08Z | - |
dc.date.available | 2020-07-28T02:47:08Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69145 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study is to examine people’s awareness towards electronic waste of mobile phone in Chiang Mai district and the personal factors affecting the awareness towards electronic waste of mobile phone in Chiang Mai district. The Data in the study were primary data and they were collected via questionnaires from people who lived in Chiang Mai district with a total of 384 samples. The data was analyzed by Descriptive statistics and Quantitative data analysis which included Logit model, maximum likelihood estimates and marginal effects. The finding about the respondents were as follows: 61% of people that took the questionnaire were female, 43% of the respondents aged between 16-26 years old. Moreover, 69% of all respondents that held a bachelor’s degree and 37% are employed by the government or government enterprises. Lastly, 43% receive a monthly income about 22,374 Baht per month. The results of this study found the opinions of the respondents that took The electronic waste of mobile phone questionnaire that the respondents disagree the most that the electronic waste can be discarded with normal, non-electric waste. On the other hand, they agree the most that the government should support and implement knowledge to the public and raised awareness on how to manage electronic waste from mobile phone. In addition, regarding the part of the knowledge of electronic waste, the respondents knew the place to eliminate electronic waste. The Logit model analysis using in this study indicated that age is an important factor that cause significant differences towards the awareness of electronic waste, meaning when they are getting older, there are more opportunity for them to be more well-aware towards the electronic waste. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การตระหนักรู้ถึงผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือในอำเภอเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Awareness of Electronic Waste of Mobile Phone in Chiang Mai District | en_US |
dc.type | Thesis | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงระดับการตระหนักรู้ถึงผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือในอำเภอเมืองเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตระหนักรู้ผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือกับปัจจัยส่วนบุคคล โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลปฐมภูมิจากการเก็บแบบสอบถามประชาชนในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 384 ตัวอย่าง ซึ่งวิธีการวิเคราะห์ใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิธีวิเคราะห์แบบจำลองโลจิท และการวิเคราะห์อัตราการเปลี่ยนแปลงของความน่าจะเป็น ผลการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 61 มีอายุอยู่ในช่วง 16 -26 ปี ร้อยละ 43 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับวุฒิการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 69 โดยรับราชการและรัฐวิสาหกิจร้อยละ 37 และมีระดับรายได้ต่อเดือนไม่เกิน 22,374 บาท ร้อยละ 43 ผลการศึกษาในส่วนความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือ ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยน้อยที่สุดกับการทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือสามารถทิ้งรวมกับขยะทั่วไปได้ ขณะที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยมากที่สุดกับการที่ให้รัฐบาลส่งเสริมความตระหนักและความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือ ในส่วนของความรู้เกี่ยวกับผลกระทบของขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือ ผู้ตอบแบบสอบถามตระหนักรู้ถึงสถานที่ที่ควรทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือ ในส่วนของผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการตระหนักรู้ถึงผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่าอายุมีผลต่อโอกาสในการตระหนักรู้ถึงผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือ กล่าวคือเมื่อประชาชนมีอายุเพิ่มขึ้น โอกาสที่จะตระหนักรู้ถึงผลกระทบขยะอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโทรศัพท์มือถือจะเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.