Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.authorศรัญญา ใจอินต๊ะen_US
dc.date.accessioned2020-07-28T02:47:02Z-
dc.date.available2020-07-28T02:47:02Z-
dc.date.issued2015-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69144-
dc.description.abstractThis study had the objectives of investigating the working conditions, income, expenses, wellbeing and satisfaction of the migrant workers in the cleaning service of Chiang Mai University. Data collection was done via a questionnaire distributed to 170 migrant workers in the cleaning service of Chiang Mai University and analysis was done by descriptive statistics. Analysis of the migrant workers’ happiness or satisfaction with their work involved 4 areas: working, income and welfare, health and the living conditions weighed by the Likert Scale. The findings were that most of the migrant workers were female, single and 33 years of age on average. They were of the Tai Yai ethnic people with Buddhist beliefs. They were able to speak, read and write in the Thai language but very little. They entered the Thai Kingdom via the border at Mae Sai District and had to pay approximately 8,891 Baht per person for their travel expenses and other expenses. These migrant workers worked as daily wage workers for the company that won the bid to do the cleaning service for Chiang Mai University. They had to work 8 hours per day, 5 days a week for 300 Baht a day. Their average household income was 16,145 Baht per month and their average household expenses were 9,555 Baht monthly, most of these workers rented a house and paid 2,313 Baht average monthly rent. They had worked for about 3 years each. The kinds of vehicles they used were personal bicycles and motorcycles. Those who managed to send money to their families sent approximately 8,035 Baht per year. Their work satisfaction was at a moderate level. They were satisfied with their living conditions the most, which concerned good relationships with their neighbors and love and relationships with their family members. Next was work satisfaction, which concerned the working equipment and safety of the equipment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสภาพการทำงานของพนักงานรักษาความสะอาดที่เป็นแรงงาน ต่างถิ่นในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWorking Conditions of Migrant Workers in Cleaning Service of Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการทำงาน รายได้และรายจ่ายตลอดจนสภาพความเป็นอยู่ และความสุขในการทำงานของพนักงานทำความสะอาดที่เป็นแรงงานต่างถิ่นในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากแรงงานต่างถิ่น ทั้งหมด 170 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ส่วนการวิเคราะห์ความสุขในการทำงานแบ่งเป็น 4 ด้านคือ ด้านการทำงาน ด้านรายได้และสวัสดิการ ด้านสุขภาพ และด้านสภาพความเป็นอยู่ โดยการให้น้ำหนักของความสุขตามเกณฑ์ลิเคิทสเกล ผลการศึกษาพบว่า แรงงานต่างถิ่นส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงโสด อายุเฉลี่ย 33 ปี เชื้อชาติไทยใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ พูด อ่าน และเขียนภาษาไทยได้บ้าง เดินทางมาทำงานในไทยทางด่านอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางและอื่นๆ เฉลี่ยคนละ 8,891 บาท แรงงานเหล่านี้เป็นลูกจ้างรายวันของบริษัทที่ประมูลงานได้ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง จำนวน 5 วันต่อสัปดาห์ ได้ค่าจ้างวันละ 300 บาท รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน16,145 บาท ต่อเดือน รายจ่ายเฉลี่ยของครัวเรือน 9,555 บาทต่อเดือน แรงงานต่างถิ่นส่วนใหญ่เช่าบ้านพักอาศัย เฉลี่ยเดือนละ 2,313 บาท แรงงานต่างถิ่นทำงานมานานโดยเฉลี่ยคนละ 3 ปี พาหนะที่ใช้เดินทางมาทำงานคือ รถจักรยานส่วนบุคคล และรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล แรงงานส่วนใหญ่ไม่ได้ส่งเงินกลับให้แก่ครอบครัว ส่วนผู้ที่ส่งเงินกลับนั้นส่งให้เฉลี่ย คนละ 8,935 บาทต่อปี งานแรงต่างถิ่นมีความสุขในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความสุขทางด้านสภาพความเป็นอยู่มากที่สุด ซึ่งได้แก่ การมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านและการมีความรัก ความผูกพันกับบุคคลในครอบครัว รองลงมามีความสุขด้านการทำงานได้แก่ การมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือในการทำงานและความปลอดภัยจากอุปกรณ์ในการทำงานen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.