Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69124
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ธันยานี โพธิสาร | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.วรัท วินิจ | - |
dc.contributor.author | ภัสสร์วณัฐชนก พึ่งทอง | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-27T07:58:30Z | - |
dc.date.available | 2020-07-27T07:58:30Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69124 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to study the Behavior According to Sustainable Consumption Concept of Small and Medium Entrepreneurs in Mueang Chiang Mai Towards Using Domestic Parcels Delivery Services. The samples collected were from 200 private companies, transport stations and post offices in Meuang Chiang Mai using non-probability and quota sampling techniques. The data were analyzed by using descriptive statistics of frequency, percentage, and mean of the analysis of the differences between the two groups of samples. The research revealed that there were differences in domestic parcel service behaviors between two groups of consumers: sustainable consumption consumers and general consumers. Mostly they differ on factors for using domestic parcel services, domestic parcel recipients, the ways of parcel service, and emphasis on using domestic parcel service following the sustainable consumption concept. Moreover, the two groups emphasized on the reliability of a service provider and using environmentally sound practices or reusing bubble wrap. Secondly there were a lot of appropriate and conveniently accessible services. And lastly, seeing employment in that region as an important thing. Furthermore, the opinions towards using domestic parcel services affected social, economic and environmental factors. The sustainable consumption consumers thought negatively about these three factors. In the other hand, the general consumers showed impassive opinions. It demonstrated that the two groups actually had different attitudes about the three factors effecting domestic parcel services use; in particular, the sustainable consumption consumers had results closer towards the norm more than the general consumers. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนของ ผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อมในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ | en_US |
dc.title.alternative | Behavior According to Sustainable Consumption Concept of Small and Medium Entrepreneurs in Mueang Chiang Mai Towards Using Domestic Parcels Delivery Services | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 200 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ยึดหลักความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) และใช้การสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) ซึ่งจะทำการเก็บข้อมูลใน บริษัทเอกชน สถานีขนส่ง และที่ทำการไปรษณีย์ ในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ความแตกต่างค่าเฉลี่ยของสองกลุ่มประชากร ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มผู้บริโภคทั้งสองกลุ่ม คือกลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืน และกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป โดยส่วนมากแล้วมีความแตกต่างกันในพฤติกรรมการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ ทั้งทางด้านปัจจัยในการใช้บริการขนส่งพัสดุ เช่น ปัจจัยในการเลือกใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ ผู้รับพัสดุปลายทางในการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ ลักษณะการขนส่งพัสดุ และการให้ความสำคัญต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศ ตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผู้บริโภคที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนจะให้ความสำคัญในเรื่องของความน่าเชื่อถือในตัวผู้ให้บริการ และการใช้อุปกรณ์สำหรับหุ้มห่อกัน กระแทกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) มีค่าบริการต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้บริการในประเภทเดียวกัน และมีช่องทางหรือจุดให้บริการมีความเหมาะสม สามารถเข้าถึงได้สะดวก เพื่อไม่ให้มีระยะเวลาการรอใช้บริการในการขนส่งพัสดุในแต่ละครั้งที่นานเกินไป และมีการให้ความสำคัญกับการจ้างงานในพื้นที่ เพื่อสร้างรายได้ให้เป็นคนในพื้นที่อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีความคิดเห็นต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อปัจจัยด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งในกลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืน มีความคิดเห็นในทั้ง 3 ด้าน ในระดับความเห็นทางลบ ส่วนในกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป มีความคิดเห็นในทั้ง 3 ด้าน ในระดับความเห็นเฉยๆ แสดงว่ากลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงการบริโภคอย่างยั่งยืน และกลุ่มผู้บริโภคทั่วไปให้ความคิดเห็นต่อการใช้บริการขนส่งพัสดุในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อปัจจัยด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อม แตกต่างกันในทุกปัจจัย โดยกลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงการบริโภคอย่างยั่งยืนให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าวมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มผู้บริโภคทั่วไป | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.