Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69121
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศาสตราจารย์ ดร.นพ.กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.ศักดา พรึงลำภู | - |
dc.contributor.author | อรพินท์ พงษ์ธรรม | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-25T09:11:04Z | - |
dc.date.available | 2020-07-25T09:11:04Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69121 | - |
dc.description.abstract | This pilot study was aimed at the eating habits of patients with leg ischemia-peripheral arterial disease (PAD) in the outpatient department (OPD) of the department of surgery, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. This study included 30 patients, which were classified into 3 groups according to the severity of PAD, and consisted of 9 cases of mild PAD (group 1), 9 cases of moderate PAD (group 2), and 12 cases of severe PAD (group 3). Patients were interviewed using a Food Frequency Questionnaire (FFQ) for the last 30 days, and a 24 hours recall record. The data were analyzed and presented in percentage, mean, and standard deviation. This assessment included the frequency of food intake, ingredients, processed food, cooking method, and alcohol consumption. In terms of frequency, this study found that patients in group 1 consumed vegetables, fruit and drink (e.g. coffee, tea), fatty foods, and seasoning more frequently than did other groups. Patients in group 2 consumed meat, milk and its products more frequently than other groups. Patients in group 3 consumed carbohydrates more frequently than other groups. When the researcher assessed the overall amount of food consumed, patients in group 2 consumed more carbohydrates, fat, and protein than each of the other two groups. There was no significant difference between the three groups in terms of the amount of trace elements. The main source of food in this population was raw market. Interestingly, patients in group 3 consumed processed food more than the other two groups. It is important to note that patients in group 2 cooked food by streaming, frying and stir, whereas patients in group 3 cooked their food by boiling, grilling and soup. Most patients in this study did not drink alcohol, but 1 patient in group 1 drank alcohol on a daily basis. The baseline characteristic was not different between the three groups apart from the body mass index, waist circumference and exercise rate which was lower in group 3 than the other two groups. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงตีบตันที่ขาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Dietary Consumption in Patients with Peripheral Artery Disease in Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษานำร่องเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงตีบตันที่ขา (Leg ischemia-Peripheral Artery Disease; PAD) ที่เข้ารับการตรวจรักษาที่ห้องตรวจศัลยกรรมทั่วไป 101 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษา จำนวน 30 คน ได้แก่ กลุ่มที่ 1 (Mild PAD) จำนวน 9 คน กลุ่มที่ 2 (Moderate PAD) จำนวน 9 คน และกลุ่มที่ 3 (Severe PAD) จำนวน 12 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ประเมินความถี่การบริโภคอาหารย้อนหลัง 1 เดือน (Food Frequency Questionnaire; FFQ) และการได้รับพลังงานและสารอาหารจาก การบริโภคอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง (24 hours recall record) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาการบริโภคอาหารครอบคลุมชนิดของอาหารที่บริโภค ปริมาณอาหารที่บริโภค ความถี่ในการบริโภค การเลือกซื้อวัตถุดิบและอาหารสำเร็จรูป วิธีการปรุงอาหาร รวมทั้งการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ พบว่ากลุ่มที่ 1 มีความถี่การบริโภคอาหารประเภทผักและผลไม้ เครื่องดื่ม (กาแฟ ชา น้ำอัดลม) ไขมัน และเครื่องปรุงรสมากที่สุด กลุ่มที่ 2 มีความถี่การบริโภคอาหารประเภทเนื้อสัตว์ นมและผลิตภัณฑ์นมมากที่สุด และกลุ่มที่ 3 มีความถี่การบริโภคอาหารประเภทแป้งมากที่สุด การได้รับปริมาณสารอาหารหลัก (คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน) กลุ่มที่ 2 ได้รับในปริมาณมากที่สุด แต่การได้รับปริมาณแร่ธาตุในแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันเล็กน้อย ผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มส่วนมากซื้อวัตถุดิบจากตลาด โดยกลุ่มที่ 3 ซื้ออาหารสำเร็จรูปบ่อยที่สุด วิธีการปรุงอาหารในแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน โดยกลุ่มที่ 2 นิยมปรุงอาหารด้วยการนึ่ง ทอด และผัด และกลุ่มที่ 3 นิยมปรุงอาหารด้วยการต้ม ย่าง และแกง การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่ไม่ดื่มแต่พบผู้ป่วยในกลุ่มที่ 1 จำนวน 1 คนเท่านั้นที่มีการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ในส่วนของข้อมูลทั่วไปเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างในแต่ละกลุ่ม พบว่าค่าดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว (อ้วนลงพุง) โรคเบาหวาน และการออกกำลังกาย มีความแตกต่างกันมาก | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.