Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัท วินิจ-
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ สีสดen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T08:32:35Z-
dc.date.available2020-07-22T08:32:35Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69029-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the marketing mix factors which had impact on Lampang consumers in purchasing of bicycle. Questionnaires were used to collect the data. The samples were people in Lampang who had purchased and used bicycles for competition, exercise or travelling for no more than 5 years. The users were separated into 8 categories following the types of bicycle. The questionnaires were distributed to 50 users from each category (400 people in all). The data was analysed using descriptive statistics including frequency, percentage and mean. The analysis also included inferential statistics namely one-way analysis of variance in order to compare the difference in the means of the bicycle use experience, the number and type of bicycle owned and bought, and marketing mix, which included product, price, distribution channel and marketing. The setting for the confidence is 95% or at the 0.05 percentile. The findings showed that the majority of people completing the questionnaire were male, 31-40 years old, and married. Most of them were government officials/state enterprise employees earning 10001-20,000 bath per month. Their education was Bachelor’s degree. They owned 2-3 bicycles. They bought ready-to-use bicycles. The most popular brand was Bianchi. The cost of a bicycle was 10001-40000 bath. The reason for buying was for exercise. The bicycles had been in use for 1-3 years. The respondents often rode their bicycle in the evening, 2-3 times a week. Most of them prefer to ride alone on a high way or on a quiet local road, and they spent 1-2 hours on the bicycle. The results also showed that the overall marketing mix was ranked at the high level. The factors ranked at the high level were in the following order: price, distribution channel and the product. When comparing the difference of the means of marketing mix based on the number bicycles owned, it was found that the number of bicycles owned affected product differently in the following issues: 1) spare parts were easy to find 2) research and the development of the brand, for example faster development of new products than competitor brands 3) warranty of the products. The difference was also in terms of channel distribution; the main factors were 1) shop sign was clearly displayed and 2) delivery service. When comparing the difference of the means of marketing mix based on buying process, it was found that buying process affected product differently in the following issues: 1) it was easy to upgrade parts 2) it was easy and fast to find spare parts 3) the appropriateness of cycling route 4) research and the development of the brand, for example faster development of new products than competitor brands and 5) worldwide warranty. The difference was also in terms of channel distribution, the main factors were 1) shop sign was clearly displayed and 2) delivery service.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมการตลาดen_US
dc.subjectผู้บริโภคen_US
dc.subjectจักรยานen_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปาง ในการตัดสินใจซื้อจักรยานen_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting consumers in Mueang Lampang district towards purchasing bicyclesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashจักรยาน -- การจัดซื้อ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 ภ244ส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในอำเภอเมืองลำปางในการตัดสินใจซื้อจักรยาน โดยการสร้างแบบสอบถาม (Questionnaire) และเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่ซื้อและใช้จักรยาน เพื่อการออกกำลังกาย การแข่งขัน หรือการท่องเที่ยว ในจังหวัดลำปางไม่เกิน 5 ปี โดยแบ่งผู้ใช้จักรยานออกเป็น 8 ประเภท ตามประเภทรถจักรยาน และเก็บแบบสอบถามประเภทละ 50 คน รวม 400 คน จากนั้นนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วยความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในรูปแบบการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของประสบการณ์ในการใช้จักรยาน ประกอบไปด้วย จำนวนจักรยานที่มีในครอบครอง และลักษณะการซื้อจักรยาน กับส่วนประสมการตลาดประกอบไปด้วย ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด โดยกำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95% หรือที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี มีสถานภาพสมรส มีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001-20,000 บาท จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีจักรยานในครอบครองจำนวน 2-3 คัน ซื้อจักรยานแบบสำเร็จรูปแต่มีการปรับแต่งบางส่วน นิยมซื้อจักรยานยี่ห้อ Bianchi ซึ่งจักรยานที่ซื้อมีมูลค่าระหว่าง 10,001-40,000 บาท มีเหตุผลหลักในการเลือกซื้อจักรยานเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย ใช้จักรยานมาแล้ว 1-3 ปี นิยมออกปั่นจักรยานในช่วงเย็น จำนวน 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งนิยมปั่นคนเดียว บริเวณถนนทางหลวง / ถนนเลี่ยงเมือง และมีระยะเวลาในการปั่นจักรยานในแต่ละครั้ง 1-2 ชั่วโมง ผู้ตอบแบบสอบถามให้ระดับการมีผลของส่วนประสมการตลาดในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการส่งเสริมการตลาด รองลงมา คือ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของส่วนประสมการตลาด จำแนกตามจำนวนจักรยานที่มีในครอบครอง พบว่า จำนวนจักรยานที่มีในครอบครองต่างกันให้ความสำคัญกับส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ในประเด็น 1) การหาอะไหล่ทำได้ง่ายและรวดเร็ว 2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เช่น มีการนำอุปกรณ์ที่พัฒนาใหม่มาใช้ก่อนคู่แข่งและ 3) การรับประกันสินค้าที่ดี แตกต่างกัน และด้านช่องทางการจัดจำหน่ายในประเด็น 1) การมีป้ายบอกชื่อร้านชัดเจน สังเกตง่าย และ 2) บริการจัดส่งสินค้า แตกต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของส่วนประสมการตลาด จำแนกตามลักษณะการซื้อจักรยาน พบว่าลักษณะการซื้อจักรยานที่ต่างกันให้ความสำคัญกับส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ในประเด็น 1) การอัพเกรดอุปกรณ์ทำได้ง่าย 2) การหาอะไหล่ทำได้ง่ายและรวดเร็ว 3) ความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ปั่นประจำ 4) การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เช่น มีการนำอุปกรณ์ที่พัฒนาใหม่มาใช้ก่อนคู่แข่ง และ 5) การรับประกันแบบ Worldwide แตกต่างกัน และด้านช่องทางการจัดจำหน่ายในประเด็น 1) การมีป้ายบอกชื่อร้านชัดเจน สังเกตง่ายและ 2) บริการจัดส่งสินค้าแตกต่างกันen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.