Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorเจนวิทย์ คำมงคลen_US
dc.date.accessioned2020-07-22T03:00:31Z-
dc.date.available2020-07-22T03:00:31Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69013-
dc.description.abstractThe objectives of the independent study “Quality of Work Life of Tour Guides in Chiang Mai Province” were (1) to study the level of work life quality and (2) to study the factors which effected quality of work life of tour guides in Chiang Mai province. The study was based on the concept of Quality of Work Life by Management System of Quality of Work Life: MS-QWL, Industrial Council of Thailand. Questionnaire was used to collect the data from 200 tour guides. The collected data was then analyzed using frequency, percentage, mean, T-test One Way ANOVA, correlation analysis and multiple regression analysis. The results of the study showed that most questionnaire respondents were male, 36-45 years old, with Bachelor’s degree. Most worked as company’s tour guide. They used English in their work. Their work period was 12 years. Their income was 10,001-20,000 baht per month. The level of their work life quality was at the high level in 5 factors, namely mind, social relation, environment, spirituality, and life stability. The factor which was ranked at the medium level was body. They ranked the overall work life quality at the highest level. The relation between the 6 factors and the overall quality of work life was positive, at the statistics level of 0.01, with body and social relation related at the low level, while mind, environment and life stability related at the medium level, and spirituality related at the highest level. Moreover, it was found that the relation between quality of work life and the overall quality of work life was positive, with mind, social relation and spirituality affected the overall quality of work life at the statistics significance level of 0.01.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeQuality of Work Life of Tour Guides in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่ และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามโดยใช้แนวคิดคุณภาพชีวิตการทำงาน (Quality of Work Life) ตามมาตรฐานระบบการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงาน (Management System of Quality of Work Life: MS-QWL) ของสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ มัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 200 ราย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) การทดสอบค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยวิเคราะห์ค่า T-test One Way ANOVA พร้อมทั้งวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีช่วงอายุระหว่าง 36 – 45 ปี มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรี เป็นมัคคุเทศก์ของบริษัท เกือบทั้งหมดใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 12 ปี และมีรายได้อยู่ในช่วง 10,001 – 20,000 บาทต่อเดือน ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อยู่ในระดับมาก 5 ปัจจัย คือ ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านจิตวิญญาณ และด้านความมั่นคงในชีวิต เรียงตามลำดับ และระดับปานกลาง คือ ด้านร่างกาย โดยทั้งนี้คุณภาพชีวิตในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ปัจจัยทั้ง 6 ด้าน มีความสัมพันธ์กันในทิศทางเดียวกันกับคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยที่ปัจจัยด้านร่างกาย และด้านสัมพันธภาพทางสังคม มีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ ด้านจิตใจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความมั่นคงในชีวิต มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และด้านจิตวิญญาณ มีความสัมพันธ์ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ด้านการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณพบความสัมพันธ์เชิงบอกระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวมของมัคคุเทศก์ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าปัจจัยด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านจิตวิญญาณ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.