Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. ศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorอนุชา พรหมจันทร์en_US
dc.date.accessioned2020-07-22T03:00:23Z-
dc.date.available2020-07-22T03:00:23Z-
dc.date.issued2015-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69012-
dc.description.abstractThis independent study aimed at examining customer satisfaction towards service quality of Bank of Agriculture and Agricultural Co-operatives in San Pa Tong branch, Changwat Chiang Mai. Questionnaires were used as the tool to collect data from 200 customers at the studied bank in San Pa Tong branch. Then, data analysis was done by the use of descriptive statistics, consisting of frequency, percentage and mean. The findings showed that most respondents were married male in the age of 41-50 years old, whose education background was lower than high school. They worked as a worker and mostly earned monthly income at the amount of 10,000-19,999 Baht in average. The majority took following services from the Bank of Agriculture and Agricultural Co-operatives: saving services as a sub-type of deposit services, credit service for consumption and non-agricultural investment as a sub-type of credit services, and bill payment service as a sub-type of other services. They had been customers of the studied bank at San Pa Tong branch for over 10 years. Their frequency in receiving services from the bank was 1-2 times/month. They mostly visited the bank on Friday at uncertain time. A reason of choosing the Bank of Agriculture and Agricultural Co-operatives, San Pa Tong branch was the fame and the security of the bank itself. Source of information where they learned about services of the studied bank was the suggestion from friend/acquaintance. Beside the Bank of Agriculture and Agricultural Co-operation, another bank or financial institute in San Pa Tong district that they used to take banking services from was the Government Savings Bank. The results indicated that the respondents paid the highest level of importance on the attributes of service quality as follows. In tangible attribute, the highest level of importance was the modern and high-tech bank’s appliances. In reliability attribute, the highest level of importance was the right services being provided as announced/determined. In responsiveness attribute, the highest level of importance was the notification to customers when their requests were getting approved. In assurance attribute, the highest level of importance was the assurance that the bank staff provided to customers. In empathy attribute, the highest level of importance was the given attention of the bank staff to customers individually. Regarding the study on satisfaction, the respondents paid highest satisfaction towards attributes of service quality as follows. In tangible attribute, the highest level of satisfaction was the modern and high-tech bank’s appliances. In reliability attribute, the highest level of satisfaction was the correct method to secure customer’s data record. In responsiveness attribute, the highest level of satisfaction was the notification to customers when their requests were getting approved. In assurance attribute, the highest level of satisfaction was the assurance that the bank staff provided to customers. In empathy attribute, the highest level of satisfaction was the given attention of the bank staff to customers individually. According to the results of IPA analysis (Important-Performance Analysis), elements found in Quadrant A, which required the urgent improvement, were the bank staff who could provide the assurance to their customers, had well knowledge to give answers to customers, and paid attention to customers individually, respectively. All mentioned elements were addressed in the assurance and empathy attributes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCustomer Satisfaction Towards Service Quality of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in San Pa Tong Branch, Changwat Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาสัน ป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลูกค้าที่มาใช้บริการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรสาขาสันป่าตอง จำนวน 200 ราย การวิเคราะห์ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย จากการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีสถานภาพสมรส และมีอายุ 41-50 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีพรับจ้าง และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000-19,999 บาท มากที่สุด ส่วนใหญ่เคยใช้บริการด้านเงินฝากของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คือ ประเภทออมทรัพย์ และประเภทสินเชื่อของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่เคยใช้บริการ คือ สินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและลงทุนนอกภาคเกษตร และประเภทบริการอื่นๆของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรที่ใช้บริการ คือ ชำระค่าสินค้าและบริการ โดยระยะเวลาที่ใช้บริการที่สาขาสันป่าตอง คือ มากกว่า 10 ปี และมีความถี่ที่ใช้บริการกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาสันป่า คือ 1-2 ครั้ง/เดือน ส่วนใหญ่วันที่มาใช้บริการธนาคารมากที่สุด คือ วันศุกร์ และเวลาที่มาใช้บริการธนาคารมากที่สุดคือ ไม่แน่นอน เหตุผลที่เลือกใช้บริการกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาสันป่าตอง คือ ชื่อเสียงและความมั่นคงของธนาคารฯ ส่วนใหญ่ทราบบริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาสันป่าตอง จากเพื่อน/คนรู้จักแนะนำ และเคยใช้บริการกับธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่นในอำเภอสันป่าตองนอกจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาสันป่าตอง โดยธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่นที่ใช้บริการคือ ธนาคารออมสิน ผลการศึกษาด้านความสำคัญของปัจจัยย่อยคุณภาพการให้บริการพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญสูงสุดต่อปัจจัยย่อยคุณภาพการให้บริการในแต่ละด้านดังนี้ ด้านรูปลักษณ์ ได้แก่ อุปกรณ์ของธนาคารมีความทันสมัย ด้านความน่าเชื่อถือ ได้แก่ การให้บริการที่ตรงตามที่ระบุ/กำหนดไว้ ด้านการตอบสนองลูกค้าได้แก่ การแจ้งให้ลูกค้าทราบว่าจะให้บริการได้เมื่อใด ด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ ได้แก่ พนักงานของธนาคารสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ด้านการดูแลเอาใจใส่ ได้แก่ พนักงานธนาคารให้ความสนใจกับลูกค้าเป็นรายบุคคล ในด้านความพึงพอใจพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจสูงสุดต่อปัจจัย ย่อยในแต่ละด้านของคุณภาพการให้บริการดังนี้ ด้านรูปลักษณ์ ได้แก่ อุปกรณ์ของธนาคารมีความทันสมัย ด้านความน่าเชื่อถือ ได้แก่ การเก็บรักษาข้อมูลลูกค้าอย่างถูกต้อง ด้านการตอบสนองลูกค้า ได้แก่ การแจ้งให้ลูกค้าทราบว่าจะให้บริการได้เมื่อใด ด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ ได้แก่ พนักงานของธนาคารสร้างความ เชื่อมั่นให้กับลูกค้า ด้านการดูแลเอาใจใส่ ได้แก่ พนักงานมีความเอาใจใส่ต่อลูกค้า การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค IPA (Important-Performance Analysis: IPA) พบว่า ปัจจัยย่อยที่อยู่ใน Quadrant A ซึ่งเป็นปัจจัยย่อยที่ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วน คือ พนักงานของธนาคารสร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า พนักงานธนาคารมีความรู้ในการตอบคำถามกับลูกค้า และพนักงานธนาคารให้ความสนใจกับลูกค้าเป็นรายบุคคล ตามลำดับ ซึ่งปัจจัยย่อยดังกล่าวอยู่ในด้านการรับประกัน/ความมั่นใจ และด้านการดูแลเอาใจใส่en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.