Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69010
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.วรัท วินิจ | - |
dc.contributor.author | ภูเบศ โฆษิตากาศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-22T03:00:11Z | - |
dc.date.available | 2020-07-22T03:00:11Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/69010 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to study marketing mix factors that affected private car users towards using petrol stations in Mueang Lampang District. The data was collected using questionnaire distributed to 400 car users residing in and those who travelled through Mueang Lampang District. The samples were car users who owned all kinds of private cars and who used benzene, gasohol and diesel petrol. The data was analysed using descriptive statistics, namely frequency, percentage mean, and F-test, to analyse the differences between marketing mix, and personal factors, namely age and average monthly income, at the reliability level of 95% (or at the statistical significance level of 0.05). The results of the research study showed that most questionnaire respondents were male, 21-30 years old, married, with Bachelor’s degree. They were private company employees, with monthly income of 10,001- 20,000 baht. They owned a sedan car. The main reason for using the services at the petrol station was to fill up. The kind of petrol they used was diesel. They spent 501-1,000 baht each time for petrol, and spent 101-500 baht for other merchandises and services. The time that they visited the petrol station was not specific. The questionnaire respondents ranked the overall marketing mix at the high level. The factors that were ranked at the high level were place, service process, personnel, and construction and presentation of physical appearance. The factors that were ranked at the medium level were marketing promotion, product, and price, respectively. The study of the sub-factors in each category showed that for product, the highest ranked sub-factor was the quality of the merchandises in the convenient store. For price, it was lower petrol prices compared with those at other petrol stations. For place, the location of the petrol station was convenient being situated on a main road. For marketing promotion, it was discount on petrol price. For personnel, it was efficient service of the staff. For process, it was also efficient service. For construction and presentation of physical appearance, it was the availability of clean restrooms. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ต่อการใช้บริการสถานีบริการน้ำมัน ในอำเภอเมืองลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Marketing Mix Affecting Private Car Users Towards Using Petrol Stations in Mueang Lampang District | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อผู้ใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ต่อการใช้บริการสถานีบริการน้ำมัน ในอำเภอเมืองลำปาง โดยการสร้างแบบสอบถาม (Questionnaire) และเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่อาศัยอยู่ หรือมีการเดินทางผ่านเขตพื้นที่อำเภอเมืองลำปาง โดยมีรถยนต์ส่วนบุคคลทุกขนาด เติมน้ำมันเบนซิน แก๊สโซฮอล์ และน้ำมันดีเซลทุกประเภท จำนวน 400 คน จากนั้นนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และวิเคราะห์โดยใช้สถิติอ้างอิง ในรูปแบบของค่า F-test เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างส่วนประสมทางการตลาดบริการ กับปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ และรายได้ส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อเดือน ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (หรือที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 21-30 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001-20,000 บาท ใช้รถยนต์ประเภทรถเก๋ง (Sedan) มีจุดประสงค์หลักของการเข้าใช้บริการเพื่อเติมน้ำมัน โดยชนิดของน้ำมันที่เติมเป็นประเภทดีเซล มีค่าใช้จ่ายต่อการใช้บริการเติมน้ำมันเฉลี่ย 501-1,000 บาทต่อครั้ง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งในการซื้อสินค้าและใช้บริการอื่นๆ 101-500 บาท และส่วนใหญ่มีเวลาที่เข้าใช้บริการแบบไม่แน่นอน ผู้ตอบแบบสอบถามให้ระดับการมีผล ของส่วนประสมการตลาดบริการในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากได้แก่ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านบุคลากรหรือพนักงานที่ให้บริการ ด้านการสร้างและการนำเสนอลักษณะทางกายภาพ และปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลางได้แก่ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา ตามลำดับ เมื่อพิจารณาปัจจัยย่อยของส่วนประสมการตลาดในแต่ละด้านพบว่า ปัจจัยทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้าในร้านสะดวกซื้อ ปัจจัยทางการตลาดด้านราคาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยราคาน้ำมันต่ำกว่าสถานีบริการน้ำมันอื่น ปัจจัยทางการตลาดด้านช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยสถานีบริการน้ำมันอยู่บนเส้นทางหลัก สะดวกในการเดินทางไปใช้บริการ ปัจจัยทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยส่วนลดราคาน้ำมันโดยตรง ปัจจัยทางการตลาดด้านบุคลากรหรือพนักงานที่ให้บริการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยความถูกต้องแม่นยำในการให้บริการของพนักงาน ปัจจัยทางการตลาดด้านกระบวนการให้บริการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยความแม่นยำและถูกต้องของกระบวนการให้บริการ ปัจจัยทางการตลาดด้านการสร้างและการนำเสนอลักษณะทางกายภาพที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ปัจจัยสถานีบริการน้ำมันมีห้องสุขาสะอาด เพียงพอต่อการใช้บริการ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.