Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68993
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. วรัท วินิจ | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. ธันยานี โพธิสาร | - |
dc.contributor.author | ท่องนที อุปละกูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-21T06:06:27Z | - |
dc.date.available | 2020-07-21T06:06:27Z | - |
dc.date.issued | 2015-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68993 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to study the behavior according to sustainable consumption concept of working-age people in mueang Chiang Mai district towards selecting gas station services . The questionnaire was used as the tool to collect data 400 using a quota sampling by occupation. Data was, then, analyzed by the use of descriptive statistics, consisting of frequency, percentage, and mean. The findings presented that most respondents were single male, aged of 20-29 years old, with bachelor’s degree. The majority was the employee of private company and earned the monthly income at the amount of 9,001-20,000 baht. Most gas to gasoline, gasohol 91 at the gas station PTT believes in the quality of the oil, frequency of oil 1-2 times per month, service during 8:01 am. -12.00 pm and the cost per visit is about 101-300 baht. Furthermore, most alternative fuel to gas stations with service personnel, cash payments, decided chooses their own gas stations. The samples were divided into two groups by mean: general consumers and the consumers who are aware of the concept of sustainable consumption. The findings user stations that recognize the concept of sustainable consumption that most respondents were single male, aged of 34-41 years old, with bachelor’s degree. The majority was the employee of private company and earned the monthly income at the amount of 9,001-20,000 baht. But general consumers were aged 24-32 years old. According to the correlation analysis on general information of the working aged people towards selecting gas station services, as divided into a group of working-aged consumers with sustainable consumption concept and a group of general working-aged consumers, the results presented that the difference of personal factors on gender, age, marital status, career and average monthly income affected the correlation of these two groups. Nevertheless, the difference of personal factors on education background did not affect the correlation among these two groups. Based upon the study on behavioral classification on the sustainable consumption concept towards selecting gas station services of these two groups of consumers, the results suggested that the consumer behaviors on the type of oil stations, the reason is that gas from a gas station, the amount of oil in 1 month, period in a month that they came to receive service, amount of expenses that they spent in each time, Style gas station and did not affected to both groups of consumers. According to the study on statistic test of difference, the findings presented that both groups of consumers similarly paid an importance on the selecting gas station services, as a part of people factor. They, however, differently paid importance to the following sub-factors: providing customers with the expertise and fast and employees serving as a source of employment in the local area. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนของคนวัยทำงานในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการเลือกสถานีบริการน้ำมัน | en_US |
dc.title.alternative | Behavior According to Sustainable Consumption Concept of Working-Age People in Mueang Chiang Mai District Towards Selecting Gas Station Services | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืนของคนวัยทำงานในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ต่อการเลือกสถานีบริการน้ำมัน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 400 ชุด โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบโควตาผู้ใช้รถแต่ละประเภท และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาโดยสถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุ 24-32 ปี มีสถานะภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ต่อเดือน 9,001-20,000 บาท โดยส่วนใหญ่เลือกเติมน้ำมันเบนซินแก๊สโซฮอล์ 91 ที่สถานีบริการน้ำมัน ปตท. เพราะเชื่อในคุณภาพของน้ำมัน เติมน้ำมัน 1-2 ครั้งต่อเดือน ในช่วงเวลา 8.01น.-12.00 น. เติมครั้งละ 101 – 300 บาท นอกจากนี้ส่วนใหญ่เลือกเติมน้ำมันกับสถานีบริการน้ำมันแบบมีพนักงานบริการ ชำระเป็นเงินสด ตัวผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ตัดสินใจเลือกใช้บริการสถานีบริการน้ำมันเอง จากการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริโภคทั่วไป และกลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืน พบว่า กลุ่มผู้ใช้บริการสถานีบริการน้ำมันที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 33-41 ปี สถานะภาพโสด มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้ 9,001-20,000 บาท และกลุ่มผู้บริโภคทั่วไปส่วนใหญ่มีอายุ 24-32 ปีเท่านั้น ต่างจากกลุ่มผู้ใช้บริการสถานีบริการน้ำมันที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืนที่มีอายุ 33-41 ปี เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปกับกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป และกลุ่มผู้บริโภคที่ตระหนักถึงแนวคิดการบริโภคที่ยั่งยืน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ และรายได้ ที่แตกต่างกันนั้นไม่มีความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้บริโภคทั้งสองกลุ่ม แต่ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับกลุ่มผู้บริโภคทั้งสองกลุ่ม เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับผู้บริโภคทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจสถานีบริการน้ำมัน มีผลต่อผู้บริโภคทั้ง 2 กลุ่ม โดยประเภทของน้ำมัน สถานีบริการน้ำมันที่เลือก สาเหตุที่เติมน้ำมันจากสถานีบริการน้ำมัน ปริมาณการเติมน้ำมันใน 1 เดือน เวลาที่เติมน้ำมันบ่อยที่สุด ค่าใช้จ่ายในการเติมน้ำมันแต่ละครั้ง รูปแบบสถานีบริการน้ำมัน การชำระเงินไม่มีผลต่อผู้บริโภคทั้ง 2 กลุ่ม เมื่อทดสอบความแตกต่างโดยค่าสถิติพบว่า ผู้บริโภคทั้ง 2 กลุ่มให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านสิ่งนำเสนอทางกายภาพและปัจจัยด้านกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกัน ส่วนปัจจัยด้านบุคลากรพบว่า ผู้บริโภคทั้ง 2 กลุ่มส่วนใหญ่ให้ให้ความสำคัญแตกต่างกัน โดยปัจจัยย่อยที่แตกต่างกัน คือ ให้บริการลูกค้าด้วยความชำนาญและรวดเร็ว และ พนักงานที่ให้บริการเป็นพนักงานที่มาจาก การจ้างแรงงานคนในพื้นที่ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.