Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. เขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorชลิยา มหายศนันท์en_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:46:52Z-
dc.date.available2020-07-21T05:46:52Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68970-
dc.description.abstractAn objective of this research was to study Consumer Behavior Towards Purchasing Lubricants for Private Cars in Mueang Lampang District. 400 questionnaires were used to collect the data. The data was then analyzed by using descriptive statistic namely frequency mean and percentage. From the questionnaires, the majority of people who did the questionnaires were woman in the age of 25-30 years old with Bachelor’s degree. Most of them worked for private company and earn 10,001-20,000 baht salary. The majority used Toyota Sedan car with 1000-1500 cc. engine. The common fuel that they used for their car was Benzene. They used PTT’s lubricating oil because of the oil’s eligibility to lubricate their car’s engine. They didn’t have specific day to buy the oil, it depended on if they were free. 10.01-12.00 was the time that they usually go to buy the oil. They would go to buy the oil when they used the car to the run distance limit. They bought the oil from the lubricant oil store because they felt that the store is authentic and also preferred to go to car dealer service for oil transferring. They liked when there was a sale and usually prefer to pay for the oil when the price was 501-1000 baht. Television was where they got information news resources about the lubricant oil. The consumers thought that they had the most influence of their decision to buy the product. Based on the questionnaires, the marketing mixed factors, which were rank by from the high level to lower level, were the quality of the products, API certificate for the products .The channel factor that had the highest affection were credibility of the store. The pricing factor was the reasonable price that goes along with the quality of the product. And the factor of sale promotion was salesman who could suggest the products to the costumers at the store.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อน้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมืองลำปางen_US
dc.title.alternativeConsumer Behavior Towards Purchasing Lubricants for Private Cars in Mueang Lampang Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อน้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์ส่วนบุคคล ในอำเภอเมืองลำปาง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ตัวอย่าง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยนำเสนอในรูปของ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลจากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 25 – 30 ปี สถานภาพโสด การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 10,001-20,000 บาท ใช้รถยนต์ประเภทรถเก๋งซีดาน4ประตู มากที่สุด ขนาดเครื่องยนต์ 1,000 – 1,500 ซีซี ยี่ห้อรถยนต์ที่ใช้มากที่สุดคือ โตโยต้า เชื้อเพลิงหลักที่ใช้คือ เบนซิน อายุการใช้งานของรถยนต์คืออยู่ในช่วง 1 – 3 ปี ส่วนใหญ่ใช้น้ำมันหล่อลื่นยี่ห้อ ปตท. พฤติกรรมการเลือกซื้อน้ำมันหล่อลื่น เลือกโดยคำนึงถึงคุณสมบัติทางด้านช่วยหล่อลื่นลดการสึกหรอของเครื่องยนต์ และจะซื้อน้ำมันหล่อลื่นเพื่อเปลี่ยนถ่ายเมื่อรถยนต์วิ่งครบกำหนดตามระยะทาง ช่วงวันที่ซื้อไม่แน่นอนขึ้นกับช่วงวันว่าง นิยมซื้อในช่วงเวลา 10.01-12.00 น. โดยผู้บริโภคนิยมซื้อน้ำมันหล่อลื่นที่ร้านขายน้ำมันหล่อลื่น มากที่สุด เนื่องจากเหตุผลในการเลือกสถานที่ซื้อคือ สถานที่มีความน่าเชื่อถือ และ นิยมไปเปลี่ยนถ่ายน้ำมันหล่อลื่นที่ ศูนย์บริการจำหน่ายรถยนต์มากที่สุด รูปแบบการส่งเสริมการขายที่นิยมคือ ลดราคา โดยช่วงราคาที่ยินดีจ่ายเงินเพื่อซื้อน้ำมันหล่อลื่นคือ ช่วง 501 – 1,000 บาท และได้รับข้อมูลข่าวสารน้ำมันหล่อลื่นจากสื่อโทรทัศน์มาก และตัวเองเป็นผู้ที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการตัดสินใจซื้อน้ำมันหล่อลื่น ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีค่าเฉลี่ยความสำคัญโดยรวมในระดับ มาก สามารถเรียงลำดับได้ดังนี้ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยย่อยที่มีความสำคัญมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ได้รับการรับรองจาก API สถาบันปิโตรเลียมแห่งอเมริกา ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ปัจจัยย่อยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ สถานที่จำหน่ายน้ำมันหล่อลื่นมีความน่าเชื่อถือ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยย่อยที่มีความสำคัญสูงสุด คือ ราคาขายเหมาะสมกับระดับคุณภาพของน้ำมันหล่อลื่น และปัจจัยด้านส่งเสริมการขาย ปัจจัยย่อยที่มีความสำคัญสูงสุด คือ พนักงานมีความรู้แนะนำผลิตภัณฑ์ที่จุดขายได้en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.