Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.นฤนาถ ศราภัยวานิช | - |
dc.contributor.author | อนัญญา ฉัตรานันท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-07-21T05:42:11Z | - |
dc.date.available | 2020-07-21T05:42:11Z | - |
dc.date.issued | 2015-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68953 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to examine the quality of work life of pharmaceutical sales representatives in the northern region. Questionnaires were used as the tool to collect data from 200 pharmaceutical sales representatives in the northern region. Data obtained were, then, analyzed by descriptive and inferential statistics, including frequency, percentage, and means. Hereafter were shown the summary of the findings. The findings presented that most respondents were female in the age of 31-35 years old, single, and graduated in bachelor’s degree. Their net salary (excluding per diem, incentive award, commission, and other sources of income) was 25,001-35,000 Baht; while their gross monthly income (including salary, per diem, incentive award, commission, and other sources of income) was over than 105,000 Baht. The majority used to work at two pharmaceutical companies and had worked in the line of pharmaceutical sales representative for 7-10 years. Their working duration at the current company was 5-7 years and their current company was classified in the category of original drugs company with more than 40 sales representatives. The findings on quality of work life of pharmaceutical sales representatives in the northern region revealed that the respondents agreed that their quality of work life could be ranked at high level, especially on emotional, spiritual, social relation, physical, environmental, and life stability approaches, in orderly. Below were shown the top elements of the six approaches of the quality of work life that were ranked at the highest level by the pharmaceutical sales representatives in the northern region. The physical approach was to have no record of hospital admission due to severe illness in the last year. The emotional approach was to be family supporter. The social relation approach was the ability to work by themselves. The environmental approach was the convenient transportation to access to the company and the responsible areas. The spiritual approach was the receiving of meaning and significance in life from the current company. The life stability approach was the capacity to handle with expenses or debts properly. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | คุณภาพชีวิตการทำงานของผู้แทนยาในเขตการขายภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Quality of Work Life of Medical Sales Representatives in the Northern Region of Thailand | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของผู้แทนยาในเขตการขายภาคเหนือ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้แทนยาที่ปฏิบัติงานในเขตการขายภาคเหนือ จำนวน 200 คน นำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และอนุมาน ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ และ ค่าเฉลี่ย ซึ่งสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31 – 35 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี เงินเดือนที่ได้รับ (ไม่รวมเบี้ยเลี้ยง รางวัลการขาย ค่าคอมมิชชั่น และรายได้อื่นๆ) 25,001-35,000 บาท และรายได้ทั้งหมดต่อเดือน (ประกอบด้วยเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง รางวัลการขาย ค่าคอมมิชชั่น และรายได้อื่นๆ) มากกว่า 105,000 บาท ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เคยทำงานกับบริษัทยามาแล้ว 2 แห่ง ระยะเวลาทำงานในสายงานผู้แทนยา 7 – 10 ปี ระยะเวลาที่ทำงานในบริษัทปัจจุบัน 5 - 7 ปี ประเภทบริษัทยาที่ทำงาน บริษัทยาต้นแบบ (Original drugs company) และจำนวนผู้แทนยาในบริษัทที่ทำงาน มากกว่า 40 คน ขึ้นไป ผลการศึกษา คุณภาพชีวิตการทำงานของผู้แทนยา ในเขตการขายภาคเหนือ มีความเห็นว่า ตนเองมีคุณภาพชีวิตการทำงานในระดับมาก ซึ่งเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ คือ ด้านจิตใจ ด้านจิตวิญญาณ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ด้านร่างกาย ด้านสิ่งแวดล้อม และ ด้านความมั่นคงในชีวิต ตามลำดับ ส่วนองค์ประกอบย่อยของคุณภาพชีวิตการทำงานทั้ง 6 ด้าน ของผู้แทนยา ในเขตการขายภาคเหนือ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้านดังนี้ ด้านร่างกาย คือ ในปีที่ผ่านมาไม่มีการเจ็บป่วยรุนแรงจนต้องนอนโรงพยาบาล ด้านจิตใจ คือ ความสามารถเป็นที่พึ่งของคนในครอบครัว ด้านสัมพันธภาพทางสังคม คือ ความสามารถทำงานตามหน้าที่ได้ด้วยตนเอง ด้านสิ่งแวดล้อม คือ สามารถเดินทางมายังบริษัทยาและการเดินทางระหว่างเขตพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างสะดวก ด้านจิตวิญญาณ คือ การทำงานที่บริษัทยามีความหมายและความสำคัญต่อตนเอง และ ด้านความมั่นคงในชีวิต คือ ความสามารถจัดการกับรายจ่ายหรือหนี้สินได้อย่างเหมาะสม | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.