Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. ธันยานี โพธิสาร-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. วรัท วินิจ-
dc.contributor.authorปารวดี ไคร้ชมen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:42:06Z-
dc.date.available2020-07-21T05:42:06Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68952-
dc.description.abstractBehavior according to sustainable consumption concept is the consumption behavior with the responsibilities to socio-economic and environmental impacts to sustain resources of products and services for the next generations. This study aimed to study the behavior according to sustainable consumption concept of farmers in Uttaradit province towards purchasing agricultural vehicles. Data were collected by the distribution of questionnaires to 360 samples from 9 districts in Uttaradit province, each of which was 40 samples. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics, including frequency, percentage, and mean, as well as the inferential statistics. The findings presented that there was an equal number of farmer respondents residing in Mueang, Luplae, Phichai, Tron, Thong Saen Khan, Tha Pla, Nam Pad, Fak Tha, and Ban Khok districts. Male respondents were found in the greater number than female respondents. The majority was in the age of 46-50 years old and their education background was lower than secondary school level. They mostly cultivated rice and earned an average of annual income at 100,001-300,000 Baht. They had had experience in using agricultural vehicles for more than 5 years; but not exceeding 15 years. Size of the riced-fields that they worked on was larger than 20 Rais; but not exceeding 50 Rais. Regarding the land procession authority, the respondents were the land owner who had all rights on land. Main reason of purchasing agricultural vehicle was to deliver agricultural products and the second reason was to carry agricultural tools and machineries. They owned one agricultural vehicle with 14-15 horsepower and with the capacity to carry the weight of 3-4 tons. They paid for it at lower than 160,000 Baht in installment terms. The money that they spent for the agricultural vehicle was the loan as approved by the Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives (BAAC) or the Agricultural Marketing Co-operative Limited (AMC), of which the down payment rate was less than 15%, and the interest rate was ranged between 6% - 10%. They chose to have an annual installment payment for the period of more than 5 years (over 60 terms of installment). They used the agricultural vehicle in July, which was the pre-cultivation period. Person influencing their purchasing decision was family members. They mostly purchased it at Sri Sa-nga Pattana Shop because this shop distributed the qualified products. The maintenance cost for the agricultural vehicle was around 501-1,500 Baht. In an overview, the factors namely product, price, place, and promotion affecting the purchase of agricultural vehicle were rated at high level of importance. In addition, the farmers agreed in neutral level towards impacts in three aspects: environmental, social, and economic. According to the study on behavior according to sustainable consumption concept, the results presented that in an overview, the respondents agreed with the sustainable consumption concept at 3.82 level. This study, then, divided the respondents into 2 groups. The first group was those who agreed with the sustainable consumption concept at the level of over than or equal to 3.82. The second group was those who were general consumers who agreed with the studied concept at the level at lower than 3.82. Hereafter were shown the top opinions towards behavior according to sustainable consumption concept that were agreed at the highest level: opinion on organizational behavior in socio-economic aspects, opinion on organizational behavior in environmental aspect, opinion on personal behavior in environmental aspect, and opinion on personal behavior in social aspect. The opinion on personal behavior in economic aspect was, however, rated at unsure level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนของเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ์ต่อการซื้อรถใช้ในงานเกษตรกรรมen_US
dc.title.alternativeBehavior According to Sustainable Consumption Concept of Farmers in Uttaradit Province Towards Purchasing Agricultural Vehiclesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืน เป็นพฤติกรรมใการบริโภคที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการรักษาฐานทรัพยากรให้สามารถใช้ในกิจกรรมการผลิตและบริการอย่างต่อเนื่องไปถึงคนรุ่นหลัง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนของเกษตรกรในจังหวัดอุตรดิตถ์ต่อการซื้อรถใช้ในงานเกษตรกรรมเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน โดยเก็บข้อมูลในจังหวัดอุตรดิตถ์ 9 อำเภอ อำเภอละ 40 คน ด้วยแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติอ้างอิง ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรที่ตอบแบบสอบถามอยู่ในอำเภอเมือง อำเภอลับแล อำเภอพิชัย อำเภอตรอน อำเภอทองแสนขัน อำเภอท่าปลา อำเภอน้ำปาด อำเภอฟากท่า และอำเภอบ้านโคก อำเภอละเท่าๆกัน เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 46 – 50 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมตอนต้น ทำเกษตรกรรมประเภททำนา รายได้เฉลี่ยต่อปีระหว่าง 100,001 -300,000 บาท ประสบการณ์ในการใช้รถใช้ในงานเกษตรกรรมมากกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 15 ปี มีพื้นที่เพาะมากกว่า 20 ไร่ แต่ไม่เกิน 50 ไร่ สิทธิการถือครองที่ดินคือ ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีสิทธิทั้งปวงเกี่ยวกับที่ดิน และวัตถุประสงค์หลักในการซื้อรถ เพื่อขนส่งพืชผลเกษตรกรรม วัตถุประสงค์รองเพื่อบรรทุกเครื่องมือและเครื่องจักรในการทำการเกษตร มีรถใช้ในงานเกษตรกรรมจำนวน 1 คัน เครื่องยนต์ขนาดระหว่าง 14 -15 แรงม้า มีน้ำหนักบรรทุกระหว่าง 3-4 ตัน ค่าใช้จ่ายในการซื้อรถใช้ในงานเกษตรกรรมไม่เกิน 160,000 บาท ชำระเงินด้วยรูปแบบเงินผ่อน ซึ่งเป็นการกู้เงินจากธกส. หรือสกต. อัตราเงินดาวน์ไม่เกิน 15% อัตราดอกเบี้ยระหว่าง 6% - 10% ผ่อนชำระแบบรายปี ระยะเวลาการผ่อนชำระ 5 ปี ขึ้นไป (60 งวดขึ้นไป) ใช้รถในเดือนกรกฎาคม ช่วงก่อนการเพาะปลูก ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อเป็นบุคคลในครอบครัว ซื้อมาจากผู้ประกอบการร้านศรีสง่าพัฒนา เพราะสินค้ามีคุณภาพ และมีค่าบำรุงรักษาระหว่าง 501 – 1,500 บาท ปัจจัยในการเลือกซื้อรถใช้ในงานเกษตรกรรม โดยภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมาก ทั้งด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านร้านค้าจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด อีกทั้งเกษตรกรมีความเห็นต่อผลกระทบในด้านต่างๆโดยภาพรวมอยู่ในระดับเฉยๆ ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อสังคม และผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ด้านพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ คิดเห็นต่อแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนโดยรวมในระดับเห็นด้วย ณ ระดับค่าเฉลี่ย 3.82 จึงทำการแบ่งกลุ่มผู้บริโภคออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกคือกลุ่มที่มีความคิดเห็นต่อแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนมีค่าเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 3.82 และกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่า 3.82 คือกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป โดยมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมตามแนวคิดการบริโภคอย่างยั่งยืนในระดับเห็นด้วยในแต่ละประเด็นเรียงตามค่าเฉลี่ยสูงสุด ดังนี้ ความคิดเห็นต่อพฤติกรรมองค์กรในประเด็นด้านสังคมและเศรษฐกิจ ความคิดเห็นต่อพฤติกรรมองค์กรในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ความคิดเห็นต่อพฤติกรรมส่วนบุคคลด้านสิ่งแวดล้อม และความคิดเห็นต่อพฤติกรรมส่วนบุคคลด้านสังคม ส่วนความคิดเห็นต่อพฤติกรรมส่วนบุคคลด้านเศรษฐกิจ มีความคิดเห็นระดับไม่แน่ใจen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.