Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. พัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.authorสรรเพชญ มโนรสen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:41:10Z-
dc.date.available2020-07-21T05:41:10Z-
dc.date.issued2015-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68940-
dc.description.abstractThis study aimed to explore the lifestyles of generation Z, which refers to those who were born in 1995-2003, in Mueang Chiang Mai district. In this study, the consideration was focused mainly on three aspects of lifestyles: activities, interests, and opinions. Questionnaires were used as the tool to collect data from samples, which were identified to 400 students studying in Mathayom Suksa 1 to Mathayom Suksa 6 at schools in Mueang Chiang Mai district. Data obtained were then analyzed by Factor Analysis to reduce variables by grouping those correlated variables together and K-Mean Cluster Analysis to forming groups and observing the dominant characters of each group. The findings presented that the generation Z in Mueang Chiang Mai district was divided into 4 groups. Group 1 was the group with a strong intention of education. The dominant characters of this group included focusing on education, interesting in online social media, and using Internet to access news and entertainment. The majority of this group was female in the age of 17 – 19 years old, studying in Mathayom Suksa 5 – Mathayom Suksa 6, and got average monthly allowance at less than 2,000 Baht. Group 2 referred to the group with an unconcern on good. The dominant characters of this group included lacking of public conscious, being irresponsible, having no concentration on education, loving exercises, sports, and games, paying importance to friends, and being flexible on principles and rules. Demographic characteristics of the people in this group were male in the age of 17-19 years old and 15 years old, studying in Mathayom Suksa 5 – Mathayom Suksa 6 and Mathayom Suksa 3, and got average monthly allowance at 2,001-4,000 Baht. Group 3 was the group with Thai value and with public consciousness. The dominant characters of this group included carrying value of Thai-ness, not following fashion trend, loving to be with friends, being responsible, being concentrate in education, and paying importance to family. Demographic characteristics of the people in this group were female in the age of 17-19 years old, and 12-14 years old, studying in Mathayom Suksa 5 – Mathayom Suksa 6, and Mathayom Suksa 1 – Mathayom Suksa 2, and got average monthly allowance at less than 2,000 Baht. Group 4 was the group with the value of westernization. The dominant characters of this group included carrying value of westernization, playing online games and accessing Internet at leisure, loving western fast food and bakery, paying importance to friends, preferring foreign films, following fashions of film stars, using products with brands, and loving shopping at department stores. Demographic characteristics of the people in this group were male in the age of 17-19 years old, studying in Mathayom Suksa 5 – Mathayom Suksa 6, and got average monthly allowance at 2,001-4,000 Baht.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleรูปแบบการดำเนินชีวิตของเจเนอเรชั่นแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeLifestyles of Generation Z in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตของเจเนอเรชั่นแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยเจเนอเรชั่นแซดคือผู้ที่เกิดปีพ.ศ.2538-2546 พิจารณารูปแบบการดำเนินชีวิตใน 3 ด้าน คือกิจกรรม ความสนใจ และความคิดเห็น ทำการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) เพื่อลดจำนวนตัวแปรโดยจัดกลุ่มตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกันไว้ด้วยกัน และการวิเคราะห์การจัดกลุ่ม (Cluster Analysis) แบบค่าเฉลี่ยของกลุ่มสมาชิก (K-Mean Cluster Analysis) เพื่อจัดกลุ่มและหาลักษณะเด่นของแต่ละกลุ่ม จากผลการศึกษาพบว่าสามารถจัดกลุ่มเจเนอเรชั่นแซดในอำเภอเมืองเชียงใหม่ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้คือกลุ่มที่ 1 กลุ่มใส่ใจการศึกษา มีลักษณะเด่นได้แก่ ใส่ใจในการศึกษา สนใจในสื่อออนไลน์ และใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อรับข่าวสารและความบันเทิง โดยมีลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ดังนี้คือ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุในช่วง 17-19 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นม.5-ม.6 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 2,000 บาท กลุ่มที่ 2 กลุ่มไม่ใส่ใจสิ่งดี มีลักษณะเด่นได้แก่ ขาดจิตสำนึก ไม่รับผิดชอบ ไม่ตั้งใจเรียน ชอบออกกำลังกาย เล่นกีฬาและเกม ให้ความสำคัญกับเพื่อน และไม่เคร่งกฎเกณฑ์ โดยมีลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ดังนี้คือส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุในช่วง 17–19 ปี รองลงมามีอายุ 15 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นม.5-ม.6 รองลงมาอยู่ในระดับชั้นม.3 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2,001-4,000 บาท กลุ่มที่ 3 กลุ่มค่านิยมไทยมีจิตสำนึก มีลักษณะเด่นได้แก่ ค่านิยมไทย มีจิตสำนึกที่ดี ไม่ตามแฟชั่น ชอบอยู่กับเพื่อน รับผิดชอบ ตั้งใจเรียน และให้ความสำคัญกับครอบครัว โดยมีลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ดังนี้คือส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุในช่วง 17–19 ปี รองลงมามีอายุในช่วง 12–14 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นม.5–ม.6 รองลงมาอยู่ในระดับชั้นม.1–ม.2 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 2,000 บาท กลุ่มที่ 4 กลุ่มค่านิยมตะวันตก มีลักษณะเด่นได้แก่ ค่านิยมตะวันตก เวลาว่างเล่นเกมออนไลน์และอินเทอร์เน็ต ชอบอาหารฝรั่ง fast food และเบเกอรี่ ให้ความสำคัญกับเพื่อน ชอบภาพยนตร์จากต่างประเทศ และตามแฟชั่นตามดาราใช้แบรนด์เนมชอบเที่ยวห้าง โดยมีลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ดังนี้คือส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุในช่วง 17–19 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ม.5-ม.6 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2,001-4,000 บาทen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf5.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.